Page 178 -
P. 178

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       169


                                                   M  −1      − 2j π u  x       N −1       − 2 j π v  y
                                            F (u )  =  ∑  f  (x , y )e  M  และ  (vF  )  = ∑  f  (x , y )e  N
                                                   x =0                          y =0

                                   การแปลงฟูริเยรสองมิติจึงสามารถทําไดโดยทําการแปลงฟูริเยรในแตละแถวกอน

                                   แลวจึงนําผลลัพธที่ไดไปแปลงฟูริเยรในแตละหลัก ตามแสดงในรูปที่ 6.9 โดยลําดับ

                                   การประมวลผลตามแถวและหลักสามารถสลับกันได            ทั้งนี้เนื่องจากการคูณมี

                                   คุณสมบัติในการสลับที่ได ทําใหเราสามารถแปลงฟูริเยรในแตละหลักกอนแลวจึงนํา
                                   ผลลัพธที่ไดไปหาฟูริเยรในแตละแถว










                                         (ก) ภาพทั่วไป                (ข) ทํา DFT ในแตละแถว        (ค) ทํา DFT แตละหลัก


                                                รูปที่ 6.9 แผนผังการแปลงฟูริเยรสองมิติแบบแยกสวน



                                   6.4.4  ความเปนคาบ (Periodic)



                                   ผลลัพธที่ไดจากการแปลง DFT จะมีคุณสมบัติความเปนคาบ ดังนี้



                                          F (U ,V ) =  F (U +  M ,V +  N ) =  F (U + M ,V ) =  F (U ,V +  N )


                                   และคาการแปลงผกผัน DFT กับคาที่ไดก็จะมีลักษณะเปนคาบเชนกัน คือ



                                            f  (x ,  ) y =  f  (x +  M , y +  N ) =  f  (x +  M ,  ) y =  f  (x , y +  N )
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183