Page 179 -
P. 179

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 170

                          ลักษณะสัญญาณคาบที่ไดนี้เปนไปตามคุณสมบัติทางคณิตศาสตรของการทํา DFT

                          เทานั้น โดยผลลัพธที่ไดจะมีคาคาบเทากับ M และ N แตเนื่องจากภาพมีขนาดจํากัด
                          อยูที่  M×N  การประมวลผลจึงทําในชวงจํากัดของภาพคือ  M×N  เทานั้น  ทําใหใน

                          ความเปนจริงภาพที่ไดจากการแปลงผกผันจะไมเปนสัญญาณคาบ แตเปน สัญญาณที่

                          จํากัดอยูแตในขนาดของภาพคือ M×N เทานั้น


                           6.4.5  สมมาตรสังยุค (Conjugate symmesty)



                          เนื่องจากภาพทั่วไปจะมีคาความเขมแสงเปนเลขจํานวนจริง  ในทางคณิตศาสตรถา
                          สัญญาณ f ใดๆ มีคาเปนเลขจํานวนจริงแลว คาสัมประสิทธิ์ DFT ของฟงกชัน f  ที่ได

                          จะมีลักษณะสมมาตรสังยุค  นั้นคือ



                                               F (U ,V ) =  F * ( U−  , V−  )                                 (6.22)


                          จากสมการจะเห็นวา  คาสัมบูรณของคา DFT  ที่คํานวณไดมีคาเทากัน  คือ


                           F (U ,V ) =  F ( U−  , V−  )   และ  φ (U  ,V ) = φ ( U−  , V−  )   ทําใหการคํานวณคา DFT
                          สามารถทําเพียงครึ่งระนาบได คาที่เหลือจะมีคาสมมาตรรอบๆ จุดศูนยกลางของคาที่

                          คํานวณไดดังแสดงในภาพ 6.8(ค)



                           6.4.6  ความเปนเชิงเสน (Linearity)



                          การแปลง DFT มีคุณสมบัติเปนเชิงเสน คือ คา DFT ของผลบวกของสัญญาณใดๆ จะ
                          มีคาเทากับคาผลบวกของ DFT ของแตละสัญญาณรวมกัน และคา DFT ของผลคูณ

                          ของคาคงที่กับสัญญาณใดๆ จะมีคาเทากับผลคูณของคาคงที่กับคา DFT ของสัญญาณ

                          นั้นๆ ดังนี้


                                                ( ξ  , f  ) g = ξ (u ,  ) v + ξ (g )  และ                      (6.23)
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184