Page 177 -
P. 177

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 168

                            และเนื่องจากคาความเขมแสงของภาพมีคาเปนบวก คาสัมประสิทธิ์ดีซีของภาพจึงมี

                          คาเปนบวก โดยทั่วไปจะมีคาสูงกวาคาอื่นๆในสเปคตรัม


                           6.4.2  ขนาดและเฟสของ DFT (Magnitude and Phase of DFT)



                          การทํา DFT  ของภาพอินพุต  f(x,y)  ใดๆจะใหผลลัพธเปนจํานวนเชิงซอนซึ่ง

                          ประกอบดวยจํานวนจริง (R)  และจํานวนจินตภาพ (I)  ทําใหสามารถเขียนผลลัพธที่

                          ไดจากการทํา DFT ในรูปของขนาด (|F(u,v)|) และมุม (φ(u,v)) ไดดังนี้



                                       F (u ,  ) v =  R (u ,  ) v +  jI (u ,  ) v =  F (u ,v ) e  jφ (u ,v )                               (6.19)
                                              M  − N1  −1     ⎛   ⎡ux    vy  ⎞ ⎤
                                     R( u, v)  =  ∑∑  f ( x,  y cos)  ⎜ π2  ⎢  +  ⎟ ⎟ ⎥
                                                              ⎜
                          โดย                  x =0  y =0     ⎝   ⎣ M    N  ⎠ ⎦

                                              M − N1  −1      ⎛   ⎡ux   vy  ⎞ ⎤
                                     I( u, v)  =  ∑∑  f ( x,  y sin)  ⎜ π2  ⎢  +  ⎟
                                                              ⎜
                                                                            ⎟ ⎥
                                                x =0  y =0    ⎝   ⎣ M   N   ⎠ ⎦
                                              F (u ,  ) v =  R 2 (u ,v ) I+  2 (u ,  ) v =  F (u ,v )F  ( *  , u  ) v               (6.20)

                                               φ (u ,  ) v =  tan  − 1 ( ( vuI  ,  ) R (u ,  ) ) v                                                  (6.21)


                          โดย F*(u,v) เปนคอนจูเกทหรือสมมาตรสังยุคของฟงกชัน F(u,v)



                           6.4.3   การแยกสวน (Separable)


                                                                           u  v
                                                                       −  2 j π (  x+  ) y
                          จากสมการการแปลงฟูริเยรเราสามารถแยกเทอม  e       M  N  ออกเปนผลคูณของ
                                                           u      v
                                                       − j π2  x  − j π2  y
                          เทอมสองเทอมได  มีคาเทากับ  e  M  e   N    เทอมทั้งสองเทอมนี้เปนอิสระตอ
                                               u
                                           −  j π2  x
                          กัน  นั้นคือเทอม  e  M  จะเกี่ยวของกับตัวแปร  u  และ  x  เทานั้น  ในขณะที่เทอม
                                u
                            −  j π2  y
                           e    M  จะเกี่ยวของกับตัวแปร v และ y เทานั้น ทําใหเราสามารถประมวลผลฟูริเยร
                          แบบแยกสวนได โดยกําหนดให
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182