Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       31



                            6.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ

                               ทฤษฎีความพึงพอใจแบงออกเปน  2 กลุม (Korman, A.K., 1977 อางถึงใน สมศักดิ์
                       คงเที่ยง และอัญชลี  โพธิ์ทอง, 2542) คือ

                                  1)  ทฤษฎีการสนองความตองการ กลุมนี้ถือวาความพึงพอใจในงานเกิดจากความตองการ
                       สวนบุคคลที่มีความสัมพันธตอผลที่ไดรับจากงานกับการประสบความสําเร็จตามเปาหมายสวนบุคคล
                                  2)  ทฤษฎีการอางอิงกลุม  ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธในทางบวกกับคุณลักษณะ

                       ของงานตามความปรารถนาของกลุม ซึ่งสมาชิกใหกลุมเปนแนวทางในการประเมินผลการทํางาน

                               ภณิดา  ชัยปญญา (2541) กลาววา การวัดความพึงพอใจนั้น สามารถทําไดหลายวิธี คือ

                                  1) การใชแบบสอบถาม   โดยผูออกแบบสอบถามเพื่อตองการทราบความคิดเห็น
                       ซึ่งสามารถทําไดในลักษณะกําหนดใหเลือกหรือตอบคําถามอิสระ คําถามดังกลาวอาจถามความพึง
                       พอใจในดานตางๆ

                                  2) การสัมภาษณ เปนวิธีการวัดความพึงพอใจทางตรง  ซึ่งตองอาศัยเทคนิคและวิธีการ
                       ที่ดีจะไดขอมูลที่เปนจริง
                                  3) การสังเกต เปนวิธีวัดความพึงพอใจโดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเปาหมาย
                       ไมวาจะแสดงออกจากการพูด กริยา ทาทาง วิธีนี้ตองอาศัยการกระทําอยางจริงจัง  และสังเกตอยางมี
                       ระเบียบแบบแผน


                       7. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจในการบริการ

                            Thomas & Earl. (1995) ไดใหแนวความคิดความพึงพอใจไววา การวัดความพึงพอใจเปนวิธี
                       หนึ่งที่ใชกันอยู เพื่อทราบผลของการใหบริการที่ดีเลิศที่ทําใหลูกคาพอใจ  เปนที่บริษัทเชื่อวามีคุณคา
                       และควรใหความเขาใจในความตองการและปญหาของลูกคาในการบริการ  ผูบริหารขององคกรตองมี

                       ความรับผิดชอบในการปรับปรุงคุณภาพใหเกิดประสิทธิผลและผลดีอยางตอเนื่อง   ดังนั้นการสํารวจ
                       ความพึงพอใจจึงเปนเครื่องมือสําคัญในการบริหารจัดการ
                            Ernest & llgen  (1980)  กลาววา  ความพึงพอใจเปนแรงจูงใจของมนุษยที่ตั้งอยูบนความ
                       ตองการพื้นฐาน มีความเกี่ยวของกันอยางใกลชิดกับผลสัมฤทธิ์และแรงจูงใจ  และพยายามหลีกเลี่ยง

                       สิ่งที่ไมตองการ

                            ทฤษฎีของมาสโลว แบงลําดับความตองการของมนุษยออกเปน  5 ลําดับ (Maslow, 1990)
                       ดังนี้

                               1)  ความตองการทางกายภาพ  (Physiological  needs)  เปนความตองการขั้นต่ําสุดตาม
                       ความความคิดของมาสโลว ความตองการขั้นนี้เปนความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย  ซึ่งจะขาดเสีย
                       มิได เชน ความตองการอาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ที่อยูอาศัย และการพักผอน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49