Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               32



                        2)  ความตองการความมั่นคงและความปลอดภัย   (Safety and security needs)  เมื่อ
               มนุษยไดรับการสนองตอบในขั้นที่หนึ่งแลว  ความตองการขั้นที่ 2 ก็จะตามมา ความตองการในขั้นนี้
               จะเปนความตองการในการปองกันตนเองใหพนจากอันตรายและมีความมั่นคง
                        3) ความตองการทางดานสังคม  (Social or belongingness needs) เมื่อความตองการ

               ทางกายภาพและความปลอดภัยไดรับการตอบสนองแลว  ความตองการทางสังคมก็จะเกิดขึ้นตามมา
               ความตองการทางสังคม คือ ความตองการที่จะอยูรวมกับคนอื่น  รวมทั้งตองการที่จะมีสถานภาพทาง
               สังคมที่สูงขึ้น
                        4)  ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง   (Esteem  or status needs)  ความตองการขั้นนี้มี

               ความเขมขนสูงกวาความตองการทางสังคม คือ ความตองการมีฐานเดนเปนที่ยอมรับในสังคม
                        5) ความตองการที่จะสบความสําเร็จสูงสุดหรือความตองการประจักษตน (Self actualization
               or self realization) ความตองการขั้นนี้เปนความตองการขั้นสูงสุดของมนุษย  ความตองการขั้นนี้จะ
               เกิดขึ้นเมื่อความตองการขั้นต่ํากวาไดรับการสนองตอบจนเปนที่พอใจแลว  บุคคลที่มีความตองการใน

               ขั้นนี้จึงมีไมมาก

               8. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

                     หางหุนสวน จํากัด นันทนภัสการประเมิน (2556) ไดสํารวจความพึงพอใจของสํานักงาน
               กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ป 2556 จาก เกษตรกรที่อยูระหวางการสงเคราะหและหลัง

               รับการสงเคราะห เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) พอคาที่รับซื้อ
               ผลผลิตยางของเกษตรกร  ผูสงออกยางพาราที่จายเงินสงเคราะห ( cess) นักวิชาการและผูเกี่ยวของ
               อื่นๆ พบวา กลุมเกษตรกรอยูระหวางการสงเคราะหและเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห
               กลุมตัวอยางจํานวน ๑,๐๙๔ คน คาเฉลี่ยความพึงพอใจเทากับ ๔.๒๒ อยูในระดับความพึงพอใจมาก

               เกษตรกรผูปลูกยางเอง จํานวน ๔๘๔ คน คาเฉลี่ยความพึงพอใจเทากับ ๔.๒๒ อยูในระดับความ
               พึงพอใจมาก พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร จํานวน ๒๗ คน คาเฉลี่ยความพึงพอใจเทากับ
               ๓.๘๕ อยูในระดับความพึงพอใจมาก ผูสงออกยางพาราที่จายเงินสงเคราะห ( cess) จํานวน ๕๐ คน
               คาเฉลี่ยความพึงพอใจเทากับ ๔.๑๒ อยูในระดับความพึงพอใจมาก นักวิชาการและผูเกี่ยวของอื่นๆ

               จํานวน ๒๕ คน คาเฉลี่ยความพึงพอใจเทากับ ๔.๔๔ อยูในระดับความพึงพอใจมาก ปญหาและ
               ขอเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการทํางาน และคุณภาพการใหบริการในแตละดาน รวมทั้ง
               ขั้นตอนการทํางาน หรือคุณภาพการใหบริการของ สกย. ที่ผูรับบริการแตละกลุมยังไมพึงพอใจ และ
               ไดถวงน้ําหนักคะแนนแตละกลุมทําใหคะแนนรวมความพึงพอใจของผูรับบริการทั้ง ๕ กลุมเทากับ

               ๔.๒๐ อยูในระดับความพึงพอใจมาก

                     ปยะนุช  กลางหมู (2551) ไดศึกษาความพึงพอใจและปญหาของเกษตรกรตอการปลูก
               ยางพาราในจังหวัดพะเยา จากเกษตรกรผูกรีดยางพาราที่สามารถเปดกรีดไดแลว จํานวน 70 ราย
               พบวา ผูใหขอมูลมีความพึงพอใจในระดับปานกลางตอกลุมเกษตรกร ดานหนวยงานและเจาหนาที่
               และดานยางพารา โดยมีความพึงพอใจมากในประเด็น 1) การกรีดยางพาราสามารถทําไดเอง

               2) กลายางพาราที่ปลูกและ 3) การเจริญเติบโตของตนยางพารา และยังพบวาผูใหขอมูลยังพึงพอใจ
               นอยในประเด็น 1) การจัดใหสมาชิกไปทัศนะศึกษาดูงานกับผูประสบความสําเร็จในการปลูก
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50