Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       33



                       ยางพารา และ 2) การจัดหาแหลงเงินทุนใหแกเกษตรกรเพื่อใชในการลงทุนทําสวนยางพารา
                       นอกจากนั้น ผูใหขอมูลสวนใหญมีปญหามากเกี่ยวกับความเขาใจการใชปุยและยาปราบศัตรูพืชอยาง
                       ถูกวิธี และมีปญหานอยในประเด็น 1) ตนยางโคนลม 2) ประสบการณและความรู ความเขาใจในการ
                       ผลิตยางพาราของแรงงาน 3) คาจางแรงงานในการกรีดยาง และ 4) แรงงานตางดาว ขอเสนอแนะ

                       ของเกษตรกรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ตองการใหเจาหนาที่และหนวยงานที่เกี่ยวของเขามาฝกอบรมให
                       ความรูในดานตางๆ อยางตอเนื่อง รวมถึงความรูเกี่ยวกับการกรีดยาง และสูตรการทํายางแผนที่
                       เหมาะสม

                            ยศ    บริสุทธิ์ และคณะ (2557) ไดทําการศึกษาเรื่อง   "เรามีความเขาใจปญหาของเกษตรกร
                       ผูปลูกยางพารารายยอยในพื้นที่สงเสริมใหมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจริงหรือ   ?"

                       จากครัวเรือนเกษตรกร องคกรเกษตรกร และผูรับซื้อยางกอนถวย จากการศึกษาพบวา    การ
                       ปฏิบัติการผลิตของเกษตรกรรายยอยยังไมเปนไปตามคําแนะนําของนักสงเสริมและความรูหลัก
                       วิชาการ  ไดแก  การแปรรูปน้ํายางเปนยางกอนถวยแทนยางแผนดิบ   กรีดยางกอนลําตนมีขนาด

                       เหมาะสมหรือกอนอายุครบ 7 ป กรีดยางในชวงตนยางผลัดใบ  ระยะปลูกของตนชิดกัน และปลูกใน
                       พื้นที่ดินตื้นหรือไมเหมาะสม   อยางไรก็ตาม  ปญหาดังกลาวขางตนเปนปญหาที่แทจริงที่เกษตรกร
                       ประสบหรือไมและอยางไร ? การศึกษานี้จึงมุงคนหาคําตอบของคําถามดังกลาว  ดวยการเลือกอําเภอ
                       โซพิสัย จังหวัดบึงกาฬเปนพื้นที่ศึกษา  โดยจากผูรู เกษตรกรผูนําครัวเรือนเกษตรกร  คณะกรรมการ
                       องคกรเกษตรกรผูรับซื้อประมูลยางกอนถวย  และผูรับซื้อยางกอนถวยสด  ผลการศึกษา พบวา  ไมเปน

                       ไปในแนวเดียวกันกับปญหาดังที่ระบุมาแลวขางตน โดยประเด็นปญหาที่แทจริงและเปนปญหา
                       เรงดวนที่องคกรเกษตรกรและครัวเรือนเกษตรกรประสบสามารถจําแนกไดดังนี้  ระดับองคกร ไดแก
                       ราคายางพาราตกต่ําและไมแนนอน   ความลาชาในการมารับซื้อและการจายเงินของผูที่ไดรับการ

                       ประมูล  ยางกอนถวยไมไดคุณภาพหรือมาตรฐาน   เงินทุนหมุนเวียนขององคกรเกษตรกรไมเพียงพอ
                       และมีพอคารับซื้อยางกอนถวยสดในพื้นที่ทําใหองคกรเกษตรกรดําเนินการรวบรวมยางกอนถวยเพื่อ
                       ขายไดนอย ระดับครัวเรือน ไดแก ราคายางพาราตกต่ําและไมแนนอน  โรคและแมลงระบาด การลัก
                       ขโมยยางกอนถวยในสวนยาง ทักษะฝมือการทําสวนยางยังไมชํานาญนัก ปญหาที่เกี่ยวของกับสุขภาพ

                       ที่มาจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิถีชีวิตจากการทําสวนยางพาราดังนั้น จึงมีขอเสนอวาการแกปญหา
                       นอกจากมุงไปที่ดานเทคนิคการผลิตแลวควรมุงไปที่ประเด็นทางสังคมของเกษตรกรผูปลูกยางพารา
                       ควบคูกันไป
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51