Page 51 -
P. 51

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               38



                        2) เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ผูสํารวจไดกําหนด
               กลุมตัวอยางจากประชากรครอบคลุมเกษตรกรผูปลูกยางเอง กระจายในพื้นที่สํานักงานกองทุน
               สงเคราะหการทําสวนยาง 6 จังหวัด โดยจํานวนประชากร มีจํานวน 42,559 ราย และจากการสุม
               ตัวอยางโดยใชสูตร Taro Yamane ตัวอยางเกษตรกรผูปลูกยางเองที่ใชในการศึกษา มีจํานวน 396

               ราย ดังตารางที่ 3-3
               ตารางที่ 3-3 จํานวนประชากรเกษตรกรผูปลูกยางเองและตัวอยางที่ใชในการศึกษา
                                 จังหวัด                     ประชากร (P)        จํานวนตัวอยาง (n)
                เลย                                            6,554                  61
                บึงกาฬ                                         17,384                 162
                สุรินทร                                       6,319                  59
                บุรีรัมย                                      4,240                  39
                แพร (ศูนยปฏิบัติการสงเคราะหสวนยางจังหวัดนาน)    5,942             55
                พะเยา                                          2,120                  20
                                  รวม                          42,559                 396

                        3) พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร  ผูสํารวจไดกําหนดกลุมตัวอยางจากประชากร
               พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร  และใชวิธีการสุมแบบเจาะจง ( Purposive Sampling)  เปน
               การเลือกตัวอยางที่ผูวิจัยใชเหตุผลในการเลือกเพื่อความเหมาะสมในการศึกษา


                        4) ผูสงออกยางพาราที่จายเงิน สงเคราะห (cess)  ผูสํารวจไดกําหนดกลุมตัวอยางจาก
               ประชากรผูสงออกยางพาราที่จายเงิน สงเคราะห (cess)  และใชวิธีการสุมแบบเจาะจง ( Purposive
               Sampling) เปนการเลือกตัวอยางที่ผูวิจัยใชเหตุผลในการเลือกเพื่อความเหมาะสมในการศึกษา

                        5) นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของอื่นๆ  ผูสํารวจไดกําหนดตัวอยางจากนักวิชาการและ
               ผูที่เกี่ยวของกับการใหบริการของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง  ไดแก สํานักงานเกษตร

               และสหกรณจังหวัด สํานักงานสหกรณจังหวัด สํานักงานเกษตรจังหวัด สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ
               สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สถาบันวิจัยยาง/ กรมวิชาการเกษตร องคการสวนยาง ธนาคารเพื่อ
               การเกษตรและสหกรณการเกษตร และกรมศุลกากร และใชวิธีการสุมแบบเจาะจง (       Purposive
               Sampling) เปนการเลือกตัวอยางที่ผูวิจัยใชเหตุผลในการเลือกเพื่อความเหมาะสมในการวิจัย

               4. การเก็บรวบรวมขอมูล


                     4.1 ผูเชี่ยวชาญและคณะทํางานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดสรุปผลการศึกษากระบวนการ
               ทํางานของ สกย. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการประเมินคุณภาพ ความพึงพอใจ ผลงานวิจัยที่
               เกี่ยวของ และรูปแบบของการประเมิน สรุปไดวา สกย.มีกระบวนการทํางานในการใหการสงเคราะห
               แกเกษตรกรชาวสวนยาง และใหคําแนะนําแกเกษตรกรผูปลูกยางเองในภาคเหนือและภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือ  ประกอบกับสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ไดนําระบบการ
               ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ ( State Enterprise Performance Appraisal: SEPA ) โดยมุงเนนเปน
               เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพของภาครัฐในการยกระดับการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจใหเขาสู
               มาตรฐานสากล สรางความพึงพอใจใหลูกคา และจากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของเปนงานวิจัยที่มี
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56