Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               40



                        ขั้นที่ 4  คณะทํางานไดตรวจแบบสอบถาม  และแบบสัมภาษณ เพื่อหาคาความตรง (Validity)
               จากผูเชี่ยวชาญ และนําขอเสนอแนะที่ไดมาปรับปรุงเครื่องมือใหมีความตรงเชิงเนื้อหาและมีความ
               สมบูรณมากยิ่งขึ้น หลังจากนั้นไดนําเครื่องมือไปทดสอบ ( Try out)  กับกลุมตัวอยางที่มีลักษณะ
               เชนเดียวกับตัวอยางที่ใชในการศึกษาจริง เพื่อนําผลจากการทดสอบเครื่องมือมาแกไขและปรับปรุงให

               เครื่องมือมีความสมบูรณ และมีความสะดวกในการนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลยิ่งขึ้น

               6. การวิเคราะหขอมูล

                     การวิเคราะหขอมูลผลการสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
               ประจําป 2557 ผูเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยไดนําขอมูลที่รวบรวมไดมาวิเคราะหขอมูลทั่วไป ความ

               พึงพอใจตอการบริการของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จัดกลุมสรุปปญหา อุปสรรค
               ของแตละกลุม ซึ่งจําแนกได 2 รูปแบบ ดังนี้

                        6.1 การวิเคราะหและอธิบายลักษณะขอมูลโดยใชสถิติ เชิงพรรณนา ไดแก คาความถี่
               คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะหขอมูล
                        6.2 การวัดผลและแปลความพึงพอใจของเกษตรกรผูรับบริการของสํานักงานกองทุน

               สงเคราะหและผูมีสวนเกี่ยวของโดยใชแบบสอบถาม สามารถแบงระดับความพึงพอใจไดเปน 5 ระดับ
               ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด โดยมีเกณฑการใหคะแนน (บุญธรรม
               กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2534) ดังนี้
                              ระดับความพึงพอใจมากที่สุด                5        คะแนน
                              ระดับความพึงพอใจมาก                      4  คะแนน

                              ระดับความพึงพอใจปานกลาง                  3  คะแนน
                              ระดับความพึงพอใจนอย                       2  คะแนน
                              ระดับความพึงพอใจนอยที่สุด               1        คะแนน

                           โดยคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจดานตางๆ มีอันตรภาคชั้น (บุญเรียง ขจรศิลป,
               2536) ดังนี้
                              ระดับความพึงพอใจมากที่สุด           4.21-5.00     คะแนน
                              ระดับความพึงพอใจมาก                 3.41-4.20     คะแนน

                              ระดับความพึงพอใจปานกลาง             2.61-3.40     คะแนน
                              ระดับความพึงพอใจนอย                1.81-2.60     คะแนน
                              ระดับความพึงพอใจนอยที่สุด          1.00-1.80     คะแนน

               7. กรอบแนวความคิดในการดําเนินงาน (Conceptual Framework)


                     จากวัตถุประสงคและขอบเขตการสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา
               สวนยาง ประจําป 2557   สามารถนํามาจัดทําเปนกรอบแนวความคิดในการดําเนินการโครงการ
               (Conceptual Framework) และกรอบการประเมินผลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ดังภาพที่ 3-1
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58