Page 49 -
P. 49
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
36
- เกษตรกรระหวางการสงเคราะหและเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห
- เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
- พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร
- ผูสงออกยางพาราที่จายเงิน cess
- นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของอื่นๆ
(ถวงน้ําหนักเทากับ รอยละ 40, 30, 10, 10 และ 10 ตามลําดับ)
1.5 วิเคราะห สังเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอการปฏิบัติงานของสํานักงานกองทุนสงเคราะห
การทําสวนยางทั้งขอมูลเชิงปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพ พรอมจัดทําขอเสนอแนะและแนวทางการ
ปรับปรุงคุณภาพการใหบริการของ สกย.
1.6 จัดทํารายงานสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานตอ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา
สวนยาง ประกอบการพิจารณาตรวจรับงาน ไดแก รายงานขั้นตน ( Inception Report) รายงานฉบับ
กลาง (Interim Report) รางรายงานฉบับสุดทาย (Draft Final Report ) และรายงานฉบับสุดทาย
(Final Report)
2. พื้นที่ดําเนินการศึกษา
การสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประจําป 2557
ดําเนินการศึกษาครอบคลุมทุกภูมิภาค จํานวน 12 จังหวัด ประกอบดวย
ภาคตะวันออก ไดแก จังหวัดระยอง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก จังหวัดเลย บึงกาฬ สุรินทร และจังหวัดบุรีรัมย
ภาคเหนือ ไดแก จังหวัดแพร (ศูนยปฏิบัติการสงเคราะหสวนยางจังหวัดนาน) และจังหวัด
พะเยา
ภาคใต ไดแก จังหวัดสตูล พัทลุง นครศรีธรรมราช เขต 1 นครศรีธรรมราช เขต 2 และ
จังหวัดพังงา
3. ประชากรและกลุมตัวอยาง
3.1 ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูรับบริการของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา
สวนยาง ประกอบดวย เกษตรกรระหวางการสงเคราะหและหลังรับการสงเคราะห เกษตรกรผูปลูก
ยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร ผูสงออก
ยางพาราที่จายเงินสงเคราะห (cess) และนักวิชาการและผูที่เกี่ยวของอื่นๆ
3.2 กลุมตัวอยาง
1) เกษตรกรระหวางการสงเคราะหและเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห
ผูวิจัยไดกําหนดขนาดกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาจากประชากรที่ทราบจํานวนแนนอน
(Finite population) ของแตละกลุม โดยใชสูตร Taro Yamane (Yamane, 1967) ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%