Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       39



                       การสํารวจ กระบวนการทํางานที่ทําใหเกษตรกรมีความพึงพอใจ ซึ่งตองประกอบดวย กระบวนการ
                       ใหบริการ การใหความรู การนําไปใชประโยชน รวมทั้งเจาหนาที่ผูใหบริการ ดังนั้นรูปแบบการ
                       ประเมินที่นํามาใชในการสํารวจครั้งนี้ คือ รูปแบบ การประเมินเชิงระบบ ตั้งแตปจจัยนําเขา ( Inputs)
                       กระบวนการ (Process) และผลลัพธ (Outputs) ขององคกรเปนหลักสําคัญในการดําเนินงานในครั้งนี้

                            4.2 ผูเชี่ยวชาญและคณะทํางานจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจะทําการเก็บรวบรวมขอมูล
                       ในพื้นที่ดําเนินงาน ระหวางเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. 2557

                       5. เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล

                            เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา

                       สวนยาง ประจําป 2557 มีขั้นตอนการสรางเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล ดังนี้
                               ขั้นที่ 1 ผูเชี่ยวชาญและคณะทํางานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดรวมกําหนดโครงราง

                       เนื้อหาตามวัตถุประสงคและเปาหมายของการสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะห
                       การทําสวนยาง ประจําปที่ผานมา พรอมทั้งศึกษาขอมูลเบื้องตนจากขอมูลทุติยภูมิ เชน หนังสือ
                       บทความ เอกสารที่เกี่ยวของ รายงานการสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา

                       สวนยางที่ผานมา วารสารทางวิชาการ ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากการประชุมรวมกับหนวยงาน
                       ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อเปนการศึกษาและทบทวนทฤษฏี รวมทั้งแนวคิดที่เกี่ยวของ และนํามาซึ่งการ
                       กําหนดเครื่องมือที่เหมาะสมกับการเก็บขอมูลภาคสนาม
                               ขั้นที่ 2 ผูเชี่ยวชาญและคณะทํางานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทําการสํารวจขอมูล
                       ของพื้นที่ดําเนินงานจริงในแตละภูมิภาค ไดแก ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                       และภาคใต เพื่อนําขอมูลที่ไดประกอบการสรางเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
                               ขั้นที่ 3 ออกแบบเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลตามขอบเขตสํารวจความพึงพอใจของ
                       สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประจําป 2557 โดยสามารถจําแนกรายละเอียด ไดดังนี้

                                  1) แบบสอบถาม ( Questionnaire) ไดถูกออกแบบใหมีขอคําถามทั้งปลายเปดและ

                       ปลายปด (Closed-ended question) เพื่อใชในการสอบถามขอมูลในประเด็นดังตอไปนี้

                                     1.1) ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรระหวางการสงเคราะหและเกษตรกรหลังรับการ
                       สงเคราะห เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)  พอคาที่รับซื้อผลผลิต
                       ยางของเกษตรกร ผูสงออกยางพาราที่จายเงิน cess นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของอื่นๆ
                                     1.2) ความพึงพอใจของผูมีสวนไดสวนเสียตอกระบวนงาน (ขั้นตอน ระยะเวลา

                       ความถูกตองในการใหบริการ และคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ
                                     1.3 ) ความไมพึงพอใจของผูมีสวนไดสวนเสียตอกระบวนงาน (ขั้นตอน ระยะเวลา
                       ความถูกตองในการใหบริการ และคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ
                                     1.3) ปญหา และขอเสนอของผูมีสวนไดสวนเสียตอกระบวนงาน (ขั้นตอน

                       ระยะเวลา ความถูกตองในการใหบริการ และคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ
                                  2) แบบสัมภาษณ  (Interview) โดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ( Structured
                       Interview) ที่ประกอบดวยขอคําถามในประเด็นของปญหา และขอเสนอแนะในการใหบริการ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57