Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       27



                       4. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับระบบการประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ
                           (State Enterprise Performance Appraisal: SEPA)

                            รัฐวิสาหกิจ  หมายถึง  องคกรของรัฐบาลหรือหนวยงานธุรกิจที่รัฐบาลเปนเจาของ   รวมทั้ง

                       บริษัทจํากัดและหางหุนสวนนิติบุคคล ที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมีหุนอยูดวยเกินกวารอยละ 50
                       นับเปนกลไกสําคัญของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศดานเศรษฐกิจและสังคมมาตั้งแตแผนพัฒนา
                       เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่  1 เปนตนมา  (สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ,
                       2553)


                             สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ   (2553) กลาววา รัฐบาลไดมุงมั่นในการ
                       ปรับปรุงใหรัฐวิสาหกิจมีสมรรถภาพสูงขึ้น  และขยายกิจกรรมของรัฐวิสาหกิจใหมีบทบาทมากยิ่งขึ้น
                       ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ  โดยไดพยายามปรับปรุงการดําเนินงาน  รวมทั้งการบริหารงาน
                       เพื่อใหการลงทุนเกิดคุณประโยชนแกประเทศอยางแทจริง ป 2538 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบให
                       นําระบบประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจมาใช    เพื่อติดตามและกํากับดูแลประสิทธิภาพ

                       การดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ โดยมีการเชื่อมโยงเขากับระบบแรงจูงใจของพนักงานและ
                       คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ  และในการบริหารจัดการระบบประเมินผล  ไดกําหนดใหมีคณะกรรมการ
                       ประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ   รวมทั้งมอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย

                       รัฐวิสาหกิจ (สคร.) ทําหนาที่เปนฝายเลขานุการของคณะกรรมการประเมินผล
                             คณะกรรมการประเมินผลไดพิจารณาปรับปรุงระบบประเมินผลเปนระยะๆ      เพื่อใหมีความ

                       เหมาะสมกับการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ  ในป 2550    คณะกรรมการประเมินผลไดเห็นชอบใหมี
                       การปรับปรุงระบบประเมินผล  โดยมุงเนนใหเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพของภาครัฐ ในการ
                       ยกระดับการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจใหเขาสูมาตรฐานสากล  อันจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ

                       การแขงขันของประเทศ  โดยไดเห็นชอบใหมีการประยุกตรูปแบบระบบการประเมินตนเอง   (Self
                       Assessment Report:  SAR) และเกณฑการประเมินรางวัลคุณภาพแหงชาติ  (Thailand Quality
                       Award:    TQA)  เขากับระบบประเมินผล  โดยคณะกรรมการประเมินผลไดมีมติใหใชชื่อระบบ
                       ประเมินผล  ซึ่งไดปรับปรุงใหมนี้วา  ระบบการประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ  (State Enterprise

                       Performance Appraisal: SEPA) นอกจากนั้นคณะกรรมการประเมินผลไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการ
                       ดูแลการประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ เพื่อทําหนาที่พิจารณาแนวทางการนําระบบ  SEPA มาใชในการ
                       ประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจอยางเปนทางการ

                             สําหรับรัฐวิสาหกิจที่จะนําเอาระบบ   SEPA  ไปใชในองคกรนั้น  จะเริ่มตนดวยการประเมิน
                       ตนเองในแตละหมวด  ซึ่งจะชวยใหรัฐวิสาหกิจทราบจุดเดน  (Strength) และโอกาสในการปรับปรุง

                       (Opportunity for  Improvement) และตามระดับการพัฒนาของกระบวนการและผลการ
                       ดําเนินการที่กําหนดไวในแนวทางการใหคะแนน   รวมทั้งจัดทํารายงานผลการประเมินตนเอง
                       ซึ่งเอกสารนี้จะเปนเอกสารสําคัญที่คณะผูประเมินจะใชในการประเมินรัฐวิสาหกิจแหงนั้นอยางเปน

                       ทางการตอไป ดังนั้น การประเมินจึงชวยนําไปสูการปรับปรุงผลการดําเนินการในทุกดาน  รวมทั้งเปน
                       เครื่องมือการจัดการที่มีประโยชนมากกวาการทบทวนผลการดําเนินการทั่วไป และสามารถปรับใชกับ
                       ยุทธศาสตร ระบบการจัดการ และรัฐวิสาหกิจหลายประเภทไดอยางลงตัว
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45