Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               24



                              4.2)  การเลือกตัวอยางแบบไมมีความนาจะเปน ( Non-probability  Sampling)
               เปนการเลือกตัวอยางเพื่อศึกษาแบบไมเปนตัวแทนของประชากรที่แทจริง เพราะประชากรทุกหนวย
               ไมมีโอกาสถูกเลือกเปนตัวอยางเหมือนกับการคัดเลือกแบบความนาจะเปน นักวิจัยจะเปนผูตัดสินใจ
               กําหนดลักษณะขอบเขตตัวอยางตามความเหมาะสม (สิน  พันธุพินิจ,   2554) วิธีการนี้มักใชได

               สะดวกและเมื่อมีเวลาจํากัดในการประเมิน หรือเปนโครงการที่มีลักษณะเปนโครงการที่ดําเนินการ
               เฉพาะบางพื้นที่ ทําใหการสรุปผลทําไดเฉพาะกลุมที่ทําการประเมินเทานั้น วิธีการเลือกตัวอยางแบบ
               ไมมีความนาจะเปนมี 3 วิธี ดังนี้

                                4.2.1)  การเลือกตัวอยางแบบบังเอิญ ( Accidental  Selection) เปนการเลือก
               ตัวอยางในลักษณะการบังเอิญพบ เชน การประเมินโครงการสงเสริมการทองเที่ยวเมืองพัทยา

               ประชากรเปนนักทองเที่ยว ซึ่งมีจํานวนไมแนนอนในแตละชวงเวลา และผูประเมินไมสามารถเลือก
               ตัวอยางแบบอาศัยความนาจะเปนได เพราะการนัดหมายตัวอยางทําไดคอนขางยาก ดังนั้นกลุม
               นักทองเที่ยวที่จะใหขอมูลเปนนักทองเที่ยวที่ผูประเมินพบทั่วไปไมเฉพาะเจาะจงผูใด (สุวิมล

               ติรกานันท, 2550)
                                4.2.2) การเลือกตัวอยางแบบกําหนดจํานวน ( Quota Selection) เปนการ
               เลือกตัวอยางที่กําหนดจํานวนตัวอยางแตละชั้นยอยไวชัดเจน ซึ่งการเลือกตัวอยางแบบกําหนด
               จํานวนตองกําหนดสัดสวนของกลุมตัวอยางที่มีความแตกตางกันไวลวงหนา แลวจึงใชวิธีการเลือก
               ตัวอยางแบบสุมอยางงายหรือแบบมีระบบ การเลือกตัวอยางแบบนี้มีประโยชนตอการศึกษาจาก

               ประชากรเฉพาะกลุมหรือประชากรที่มีลักษณะพิเศษ แตก็มีขอจํากัดบางอยางเชนเดียวกับการเลือก
               ตัวอยางแบบบังเอิญ กลาวคือ แมจะกําหนดจํานวนตัวอยางไวแลว แตก็ไมทราบวากลุมตัวอยางนั้น
               เปนใครบาง และกลุมตัวอยางนั้นอาจใหขอมูลไมนาเชื่อถือหรือไมมีความเชื่อมั่น เชน การศึกษาขอมูล

               จากชาวไทยภูเขาบางเผา เปนตน
                                4.2.3) การเลือกตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Selection) หรืออาจเรียกวา
               การเลือกตัวอยางแบบตามวัตถุประสงคหรือตามความมุงหมาย เปนการเลือกตัวอยางใหสอดคลองกับ
               ปญหาหรือเรื่องที่วิจัย ซึ่งขอดีของการเลือกตัวอยางแบบเจาะจงคือ นักวิจัยที่ทราบลักษณะของ

               กลุมตัวอยางแลวสามารถใชความรูและทักษะการวิจัยของตนเองเลือกกลุมตัวอยางได เชน อาจารย
               ที่เชี่ยวชาญการวิจัยการพัฒนาหลักสูตรระดับตางๆ ยอมสามารถตัดสินใจเลือกกลุมตัวอยางให
               สอดคลองกับเรื่องที่วิจัยได ซึ่งการเลือกตัวอยางแบบนี้เปดโอกาสใหสมาชิกหรือหนวยประชากร
               แตละกลุมมีโอกาสไดรับเลือก แตไมเปดโอกาสใหประชากรกลุมอื่นที่ไมสอดคลองกับเรื่องที่วิจัย

               ไดรับเลือกเปนตัวแทน นอกจากนี้งานวิจัยที่ไดจากการเลือกตัวอยางแบบเจาะจงนี้ไมสามารถสรุป
               อางอิงไปสูประชากรทั้งหมดได แตจะสรุปอยูเฉพาะในขอบเขตของกลุมตัวอยางเทานั้น โดยลักษณะ
               ของกลุมตัวอยางขึ้นอยูกับการตัดสินของนักวิจัยและไมสามารถควบคุมได (สิน  พันธุพินิจ, 2554)
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42