Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               20



                                      - การประเมินดานบริบทหรือสภาวะแวดลอม ( Context Evaluation: C)
               เปนการประเมินใหไดขอมูลสําคัญ เพื่อชวยในการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการ ความเปนไปได
               ของโครงการ เปนการตรวจสอบวาโครงการที่จะทําสนองปญหาหรือความตองการจําเปนที่แทจริง
               หรือไม วัตถุประสงคของโครงการชัดเจน เหมาะสม สอดคลองกับนโยบายขององคการ หรือนโยบาย

               หนวยเหนือหรือไม เปนโครงการที่มีความเปนไปไดในแงของโอกาสที่จะไดรับการสนับสนุนจาก
               องคกรตางๆ หรือไม เปนตน การประเมินสภาวะแวดลอมจะชวยในการตัดสินเกี่ยวกับเรื่อง โครงการ
               ควรจะทําในสภาพแวดลอมใด ตองการจะบรรลุเปาหมายอะไร หรือตองการบรรลุวัตถุประสงคเฉพาะ
               อะไร เปนตน

                                      - การประเมินปจจัยเบื้องตนหรือปจจัยปอน ( Input Evaluation: I) เปน
               การประเมินเพื่อพิจารณาถึง ความเปนไปไดของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของ
               ทรัพยากรที่จะใชในการดําเนินโครงการ เชน งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ   เวลา รวมทั้ง
               เทคโนโลยีและแผนการดําเนินงาน   เปนตน การประเมินผลแบบนี้จะทําโดยใชเอกสารหรืองานวิจัย

               ที่มีผูทําไวแลว หรือใชวิธีการวิจัยนํารองเชิงทดลอง ( Pilot Experimental Project) ตลอดจนอาจให
               ผูเชี่ยวชาญมาทํางานให อยางไรก็ตาม การประเมินผลนี้จะตองสํารวจสิ่งที่มีอยูเดิมกอนวามีอะไรบาง
               และตัดสินใจวาจะใชวิธีการใด ใชแผนการดําเนินงานแบบไหน และตองใชทรัพยากรจากภายนอก

               หรือไม
                                      - การประเมินกระบวนการ ( Process Evaluation: P) เปนการประเมิน
               ระหวางการดําเนินงานโครงการ เพื่อหาขอบกพรองของการดําเนินโครงการ ที่จะใชเปนขอมูลในการ
               พัฒนา แกไข ปรับปรุง ใหการดําเนินการชวงตอไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเปนการตรวจสอบ
               กิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใชในโครงการ ภาวะผูนํา การมีสวนรวมของประชาชนในโครงการ โดยมี

               การบันทึกไวเปนหลักฐานทุกขั้นตอน การประเมินกระบวนการนี้ จะเปนประโยชนอยางมากตอการ
               คนหาจุดเดน หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดดอย (Weakness) ของนโยบาย/ แผนงาน/ โครงการ
               มักจะไมสามารถศึกษาไดภายหลังจากสิ้นสุดโครงการแลว การประเมินกระบวนการจะมีบทบาท

               สําคัญในเรื่องการใหขอมูลยอนกลับเปนระยะๆ เพื่อการตรวจสอบการดําเนินงานของโครงการ
               โดยทั่วไป การประเมินกระบวนการมีจุดมุงหมาย
                                      - การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เปนการประเมินเพื่อ
               เปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือความตองการ/ เปาหมายที่กําหนดไว

               รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล
               เรื่องผลกระทบ (Impact)  และผลลัพธ (Outcomes) ของนโยบาย/ แผนงาน/ โครงการ โดยอาศัย
               ขอมูลจากการประเมินสภาวะแวดลอม ปจจัยเบื้องตนและกระบวนการรวมดวย

                                   จะเห็นไดวาการประเมินแบบ CIPP  เปนการประเมินที่ครอบคลุมองคประกอบ
               ของระบบทั้งหมด ซึ่งผูประเมินจะตองกําหนดวัตถุประสงคของการประเมินที่ครอบคลุมทั้ง 4 ดาน

               กําหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวชี้วัด กําหนดแหลงขอมูลผูใหขอมูล กําหนดเครื่องมือการประเมิน
               วิธีการที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล กําหนดแนวทางการวิเคราะหขอมูล และเกณฑการประเมินที่
               ชัดเจน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38