Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               18



                     2.5 การกําหนดประเด็นในการประเมิน

                        สุวิมล  ติรกานันท (2550) กลาววา การกําหนดประเด็นในการประเมินโครงการสามารถ
               กําหนดไดจาก

                           1) พิจารณาวัตถุประสงคและ/ หรือเปาหมายของโครงการ เปนการนําวัตถุประสงค
               มากําหนดเปนประเด็นในการประเมิน
                           2) พิจารณาความตองการของผูใชผลการประเมิน ไดแก ผูใหทุน ผูมีหนาที่จัดทํา

               นโยบาย ผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับตน เจาหนาที่ปฏิบัติการ
                           3) พิจารณาจากประสบการณของผูประเมิน ทั้งนี้โดยไดรับความเห็นชอบของผูใช
               ผลการประเมิน อยางไรก็ตามการกําหนดประเด็นที่ตองการประเมินจากประสบการณผูประเมิน
               ยังมีปญหาเกี่ยวกับ วิสัยทัศนของผูประเมิน และภูมิหลังของผูประเมิน

                           4) อาศัยแบบจําลองและแนวคิด โดยแบบจําลองที่ใชกันอยูทั่วไปมี 2 ลักษณะ คือ

                              - Descriptive Model เปนแบบจําลองที่สรางขึ้นเพื่อเปนการบรรยาย การอธิบาย
               ลักษณะของสิ่งตางๆ และอาจมีสวนที่แสดงสิ่งที่คาดหวังในแบบจําลองนั้นอีกดวย
                              -  Prescriptive Model  เปนแบบจําลองที่สรางขึ้นโดยมีลักษณะเปนกฎ หรือเปน

               แนวทางไปสูการปฏิบัติ ผูใชแบบจําลองจะอาศัยแบบจําลองนี้เปนกรอบแนวคิดเปนวิธีการในการ
               ดําเนินการ

                              ซึ่งลักษณะแบบจําลองแบบ Prescriptive Model ผูประเมินจะใชแบบจําลองในการ
               กําหนดประเด็นที่ตองการประเมินและกําหนดตัวชี้วัดที่สําคัญ นอกจากจะมีแบบจําลองแลวยังมี
               แนวคิดตางๆ ที่สามารถนํามาใชไดในลักษณะเดียวกัน ซึ่งการสรางแบบจําลองหรือแนวคิดใดๆ

               ก็ตาม จะถูกสรางขึ้นภายใตบริบทของผูคิด ซึ่งไมใชวาจะเหมาะสมกับบริบทอื่นไดทั้งหมด ในเรื่องนี้
               ผูมีหนาที่ประเมินตองศึกษาบริบทและความเปนมาของแบบจําลองและแนวคิดกอนที่จะนํามาใช
               ในงานที่ตนเองรับผิดชอบ โดยแบบจําลองที่ใชในการประเมินในปจจุบันเกือบทั้งหมดเปนแบบจําลอง
               ที่มีจุดเริ่มตนมาจากการประเมินทางการศึกษา ตอมาไดมีผูนํามาประยุกตใชกับการประเมินโครงการ
               ตางๆ แบงแบบจําลองเปนกลุมใหญๆ ได 3 กลุม คือ


                              ก. Objective Based Model ในกลุมนี้มุงใหความสนใจเปรียบเทียบผลที่ไดรับกับ
               วัตถุประสงค นักวิชาการในกลุมนี้ ไดแก Tyler และ Cronbach

                                Goal Attainment Model ของ Tyler
                                   Tyler ไดพัฒนาแบบจําลองนี้ขึ้นในป ค.ศ.  1942 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อการ
               ประเมินผลทางการศึกษา ประเด็นที่ใชในการประเมิน คือ วัตถุประสงค เปนที่ตรวจสอบวาผลการ

               ดําเนินการบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม  ซึ่งจุดออนในแบบจําลองนี้ คือ การมุงเนนวัตถุประสงคที่
               กําหนดไว ทําใหการประเมินขาดสาระที่เปนประโยชนในดานอื่นๆ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36