Page 26 -
P. 26

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       13



                               1.9.3 การยื่นขอรับการสงเคราะหปลูกแทน เกษตรกรยื่นคําขอรับการสงเคราะห
                       ปลูกแทนไดที่

                                  1) สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางจังหวัด (สกย.จ.)/ อําเภอ (สกย.อ.)/
                       ศูนยปฏิบัติการสงเคราะหสวนยางจังหวัด (ศปจ.)
                                  2)  สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.) เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ ในวัน

                       และเวลาราชการ
                                  3) ยื่นตอเจาพนักงานสงเคราะหประจําทองที่ที่สวนยางนั้นตั้งอยู

                               1.9.4 การถายทอดเทคโนโลยี

                                  การถายทอดเทคโนโลยี โดยการฝกอบรมใหความรูแกเกษตรกรชาวสวนยางที่เขารวม
                       โครงการ สกย.จ. ตางๆ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เริ่มตั้งแตขั้นตอนการปลูกสรางสวนยาง จนกระทั่ง
                       ตนยางใหผลผลิตได ตลอดจนพัฒนาผลผลิตยางที่ไดใหมีคุณภาพที่ดี ตรงตามความตองการของตลาด

                       เพื่อใ เกษตรกรสามารถทําอาชีพสวนยางไดอยางเหมาะสม ทั้งในดานการลดตนทุนการผลิต การเพิ่ม
                       รายได การสรางชุมชนใหเขมแข็ง   และสามารถพัฒนาตนเองไดแบบยั่งยืน   โดยเนนการฝกอบรมให
                       ความรูตามชวงอายุตนยาง และตามความตองการของเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่เปนหลัก ดังนี้

                                  1) ชวงอยูระหวางการสงเคราะห เปนชวงที่ยางยังเล็ก ยังไมใหผลผลิตจะเนนใหความรู
                       ในดานการดูแลบํารุงรักษาสวนยาง การใสปุยยาง  การปลูกพืชแซมยาง การทําอาชีพเสริมเพิ่มรายได

                       เชน การเลี้ยงสัตว การทําหัตถกรรม เปนตน
                                  2)  ชวงพนการสงเคราะห เปนชวงที่ยางเริ่มใหผลผลิตไดแลว    จะเนนใหความรู
                       ในหลักสูตรการกรีดยางเปนอันดับแรก เพื่อเปนการเพิ่มผลผลิต รักษาหนากรีดไมใหเสียหายและเปน

                       การยืดอายุใหตนยาง และหลักสูตรอื่นๆ ที่เปนการพัฒนาการผลิต เชน    การทํายางแผนชั้นดี
                       การรวมกลุมขายยาง การผสมปุยใชเอง  การใชปุยเคมีรวมกับปุยอินทรีย  และหลักสูตรที่เปนการเพิ่ม
                       มูลคายางพารา เชน  หลักสูตรการทําผลิตภัณฑจากน้ํายาง การผลิตเฟอรนิเจอรจากไมยาง   การทํา
                       ดอกไมใบยาง ฯลฯ
                                  3)  พัฒนากลุมเกษตรกรและผูนําเกษตรกร/ สหกรณ/ สถาบันเกษตรกร ใหมีคุณภาพ

                       มีความรอบรูอยางเทาทัน โดยการจัดฝกอบรม สัมมนา  พรอมศึกษาดูงานดานการผลิต การแปรรูป
                       และการตลาด ตลอดจนสนับสนุนการสรางเครือขายและพัฒนาเครือขาย เชื่อมโยงสถาบันเกษตรกร
                       ใหเขมแข็ง  เชน หลักสูตรระบบสหกรณ การทําบัญชีครัวเรือน และเสริมสรางเกษตรกรชาวสวนยาง

                       ยุคใหม เพื่อสืบทอดอาชีพการทําสวนยางสูคนรุนหลังตอไป
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31