Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               14



               2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการประเมินผล

                     2.1 ความหมายและความสําคัญของการประเมินผล

                           การประเมิน หมายถึง กระบวนการตัดสินคุณคาของสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยการนําสารสนเทศ
               หรือผลการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑที่กําหนด (พิศณุ  ฟองศรี, 2550)
                           การประเมิน หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณคาของสิ่งใดสิ่งหนึ่งวามีความ

               เหมาะสมหรือไมเพียงใด โดยนําสารสนเทศหรือผลการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑที่กําหนด เพื่อชวย
               ในการตัดสินใจ ตีคาผลการดําเนินงานนั้นๆ วาบรรลุวัตถุประสงคหรือไม ใชเปนสวนหนึ่ง
               ของกระบวนการจัดการ (เชาว  อินใย, 2553)

                           การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณคาโดยการคนควา
               เก็บรวบรวมขอมูลตางๆ จากชุดของกิจกรรมที่จัดขึ้นอยางมีระบบมาประกอบการตัดสินใจ
               ตีคาผลการดําเนินการนั้นวาบรรลุวัตถุประสงคหรือไม ใชเปนสวนหนึ่งของกระบวนการจัดการ
               (เชาว  อินใย, 2553)
                           การประเมิน หมายถึง การเก็บรวบรวมขอมูลและใชขอมูลนั้นเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ

               โครงการ (Cronbach, 1987 อางถึงใน สุวิมล  ติรกานันท, 2550)
                           การประเมิน คือ กระบวนการบรรยาย เก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับเปาหมาย
               การวางแผน การดําเนินการ และผลกระทบ เพื่อนําไปเปนแนวทางในการตัดสินใจ เพื่อสรางความ

               นาเชื่อถือ และเพื่อสงเสริมใหเกิดความเขาใจในสถานการณของโครงการ (  Stufflebeam and
               Shinkfield, 1990 อางถึงใน สุวิมล  ติรกานันท, 2550)

                     2.2 ประเภทของการประเมิน

                        ประเภทของการประเมินมีหลายประเภทโดยสามารถแบงไดตามเกณฑตางๆ ที่กําหนดขึ้น
               โดยครั้งนี้แบงออกเปน 5 ประเภท (เชาว  อินใย, 2553) ดังนี้

                           1)  แบงตามวัตถุประสงคของการประเมิน แบงไดเปน  2 ประเภท คือ การประเมิน
               ความกาวหนา (Formative Evaluation) และการประเมินสรุป (Summative Evaluation)

                           2)  แบงตามชวงเวลาการประเมิน แบงได  8 ประเภท คือ การประเมินความตองการ
               จําเปน (Needs Assessment) การประเมินความเปนไปได ( Feasibility Evaluation) การประเมิน
               ปจจัยนําเขา (Input Evaluation) การประเมินกระบวนการ ( Process Evaluation) การประเมิน
               ผลผลิต (Output/ Product Evaluation) การประเมินผลลัพธหรือผลกระทบ ( Outcome/ Impact

               Evaluation)  การประเมินการติดตาม (Follow  up  Evaluation)  และการประเมินอภิมาน (Meta
               Evaluation)
                           3)  แบงตามผูประเมิน แบงได  2 ประเภท คือ การประเมินโดยผูประเมินภายใน
               (Internal Evaluator Evaluation) และประเมินโดยผูประเมินภายนอก ( External Evaluator

               Evaluation)
                           4)  แบงตามมิติการประเมิน แบงได  4 ประเภท คือ การประเมินตามวัตถุประสงค
               การประเมินตามขอมูล การประเมินตามวิธีการประเมิน และการประเมินตามจุดเนนที่ประเมิน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32