Page 39 -
P. 39
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
26
ถา 100 ≤ ประชากร < 1,000 กําหนดตัวอยางรอยละ 15 - 30
ถา 1,000 ≤ ประชากร < 10,000 กําหนดตัวอยางรอยละ 10 - 15
ถา 10,000 ≤ ประชากร < 100,000 กําหนดตัวอยางรอยละ 5 - 10
ถา 100,000 ≤ ประชากร < 1,000,000 กําหนดตัวอยางรอยละ 1 - 5
2) การคํานวณจากสูตร การใชสูตรคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางมี 2 กรณี ดังนี้
2.1) กรณีที่ทราบจํานวนประชากร ควรใชสูตรของ Yamane (1967) ดังนี้
N
n = 1 + Ne
2
เมื่อ n = จํานวนตัวอยางที่ตองการ
N = จํานวนประชากร
e = คาคลาดเคลื่อนของการประมาณคา
2.2) กรณีที่ไมทราบจํานวนประชากร แตตองการคํานวณขนาดกลุมของตัวอยาง
ที่ใชในการศึกษาเพื่อนําไปประมาณสัดสวนของประชากร ใหใชสูตรดังนี้
2
n = Z PQ
2
e
เมื่อ n = จํานวนตัวอยางที่ตองการ
Z = คะแนนมาตรฐาน
P = สัดสวนของลักษณะที่สนใจในประชากร
Q = 1-P
e = คาคลาดเคลื่อนของการประมาณคา
3) การใชตาราง การใชตารางสําเร็จรูปในการกําหนดขนาดตัวอยางจะชวยใหนักวิจัย
ประมาณจํานวนตัวอยางจากตารางนั้นไดโดยไมตองพิจารณาเลือกสูตรคํานวณ ตารางสําเร็จรูปที่นิยม
ใชมี 2 แบบ คือ
3.1) ตารางสําเร็จรูปของ Yamane (1967) ซึ่งกําหนดขนาดของตัวอยางตาม
ระดับนัยสําคัญ
3.2) ตารางสําเร็จรูปของ Krejcie and Morgan (1970) ซึ่งกําหนดประชากรและ
ตัวอยางไว เชน ถามีประชากร 210 คน จะมีจํานวนตัวอยาง 136 คน ถามีประชากร 900 คน
จะมีจํานวนตัวอยาง 269 คน และถามีประชากร 100,000 คน จะมีจํานวนตัวอยาง 384 คน
เปนตน (สิน พันธุพินิจ, 2554)