Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

             (6)



             ป้ องกันและกําจัดโรค (3) การปลูกพริกระบบปลอดภัย ( 4) การตลาด (5) การจัดการดินและการปรับปรุงดิน

             (6) การป้องกันกําจัดวัชพืช ( 7) วิธีการทําปุ๋ ยชีวภาพ ( 8) วิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ และ ( 9) วิธีการให้ปุ๋ ยและ
             การเลือกใช้ปุ๋ ย เรื่องที่มีความต้องการระดับปานกลางมีอยู่ 4 เรื่อง เรียงตามลําดับ ได้แก่ (1) การรวมกลุ่มและ

             การบริหารจัดการกลุ่ม (2) วิธีการเพาะกล้า (3) วิธีการปลูก และ (4) กระบวนการ วิธีการ และการจัดการหลัง

             การเก็บเกี่ยว ส่วนเรื่องที่มีความต้องการน้อย คือ การแปรรูปผลผลิตพริก  เนื่องจากเกษตรกรขายเป็นผลผลิต
             สด


              เกษตรกรกลุ่ม       Non-GAP  มีความต้องการความรู้ในการปลูกพริกในระบบปลอดภัยอยู่ในระดับมาก

             โดยเฉพาะเรื่องที่มีความต้องการระดับมากที่สุด 3 เรื่อง เรียงตามลําดับ คือ ( 1) การเพิ่มผลผลิตและปรับปรุง
             คุณภาพพริก (2) การป้ องกันและกําจัดแมลง และ (3) การป้ องกันและกําจัดโรค เรื่องที่ต้องการอยู่ในระดับ

             มากมีอยู่ 6 เรื่อง เรียง ตามลําดับ ได้แก่ (1) การปลูกพริกระบบปลอดภัย (2) การป้ องกันกําจัดวัชพืช (3) การ

             จัดการดินปรับปรุงดิน ( 4) วิธีการให้ปุ๋ ยและเลือกใช้ปุ๋ ย (5) การตลาด (6) วิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์    และ

             วิธีการทําปุ๋ ยชีวภาพ เช่นเดียวกับเกษตรกรกลุ่ม  GAP เรื่องที่มีความต้องการระดับปานกลางมีอยู่ 4 เรื่อง เรียง
             ตามลําดับ ได้แก่ (1) การรวมกลุ่มและการบริหารจัดการกลุ่ม (2) วิธีการเพาะกล้า (3) กระบวนการ วิธีการ

             และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และ (4) วิธีการปลูก ส่วนเรื่องที่มีความต้องการน้อย คือ การแปรรูปผลผลิต

             พริก เนื่องจากเกษตรกรขายเป็นผลผลิตสด

              รูปแบบในการได้รับความรู้/เทคโนโลยีการผลิตพริกระบบปลอดภัย (     GAP) ที่เกษตรกรต้องการ


              เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม มีความต้องการรูปแบบในการได้รับความรู้/เทคโนโลยีในการผลิตพริกระบบ

             ปลอดภัยคล้ายคลึงกัน โดยรูปแบบที่ต้องการมากที่สุด คือ  VCD  และรูปแบบที่ต้องการน้อยที่สุด คือ ผ่าน

             รายการวิทยุ รูปแบบที่ต้องการในระดับมาก ได้แก่ เอกสารเผยแพร่ทางการเกษตร การฝึกอบรม ผ่านผู้นํา
             เกษตรกร และผ่านรายการโทรทัศน์ สําหรับหนังสือพิมพ์/วารสารเกษตร เกษตรกรกลุ่ม GAP มีความต้องการ

             ในระดับปานกลาง ในขณะที่เกษตรกรกลุ่ม  Non-GAP  มีความต้องการในระดับน้อ ย เนื่องจากพื้นฐานทาง

             การศึกษาตํ่ากว่าเกษตรกร GAP จึงมีทักษะในการอ่านไม่ค่อยดีนัก
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13