Page 67 -
P. 67
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
60 สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง
6.4.2 การลบเสียง ( Deletion )
6.4.2.1 การลบเสียงพยัญชนะ ( Consonant deletion )
เสียงกักที่เพดานแข็ง /I / หลังเสียงนาสิก ในภาษาอังกฤษที่ทายคําจะถูกลบ
ออกและสูญไปหลังกระบวนการที่เสียงนาสิกกลมกลืนฐานกรณ แปรเปนเสียงเพดานแข็งแลว ดังนี้
‘sing’ si 0I [si 0 ] “รองเพลง”
‘thing’ 6i 0I [6i 0] “สิ่งของ”
‘rang’ ræ 0I [ræ 0] “สั่น หรือ ดัง (อดีต)”
6.4.2.2 การลบเสียงสระ ( Vowel deletion )
ภาษาอังกฤษมีการลบเสียงสระในพยางคไมเนนที่ลงทายดวยเสียงนาสิก
(nasal) หรือเสียงเหลว (liquid) ในคําสองพยางค โดยลบสระและใชเสียงนาสิก
หรือเสียงไหลเปนแกนพยางคแทน ดังตัวอยางตอไปนี้
‘whiten’ [hwa+tnB] “ทําใหขาว”
‘mountain’ [mo7tnB] “ภูเขา”
‘little’ [li4lB] “เล็กนอย”
‘rider’ [ra+4rB] “คนขับ” “คนขี่”
6.4.3 การลดแกนพยางคไมเนน
6.4.3.1 การลบเสียงสระในแกนพยางคไมเนน ( Syncope )
ในภาษาอังกฤษ สระในพยางคไมเนนซึ่งตามหลังพยางคเนนจะถูกลดรูปและ
สูญไปทั้งพยางค ตัวอยางเชน
§‘library’ [la¸+brr+] หรือ [la"+br+] “หองสมุด”
‘secretary’ [se"κrter+] หรือ [se"krtr+] “เลขานุการ”
‘momentary’ [mο"7mnter+] หรือ [mo"7mntr+] “ชั่วครู”
6.4.3.2 การลบเสียงสระทายคํา ( Apocope )
สระทายคําในพยางคไมเนน จะถูกลดรูปกลายเปนสระแนวกลาง [] และ
ถูกลบสูญเสียไปในที่สุด ตัวอยาง ภาษายอยฝรั่งเศส ( จาก Schane 1973 )
ภาษาฝรั่งเศสทางการ ภาษายอยฝรั่งเศส
eIliz eIliz “โบสถ”
ru< ru< “สีแดง”
tabl tabl “โตะ”
fij fij “เด็กผูหญิง”