Page 64 -
P. 64

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                              สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง  57


                           6.2 การรวมเสียง
                                   มีสองลักษณะของการรวมเสียง

                                 6.2.1  การรวมหนวยเสียง ( Neutralization )
                                        คือหนวยเสียงที่มีความตางแยกเปนคนละหนวยเสียง (phoneme)  กลายมาเปนเสียง
                          เดียวกัน ( neutralized ) ในบางบริบท ดังนี้


                                        6.2.1.1    การรวมหนวยเสียงพยัญชนะ ( Consonant neutralization )
                                               หนวยเสียงพยัญชนะ 2 หนวยเสียง กลายมาเปนหนวยเสียงเดียวกันในบาง
                                               บริบท เชน ในภาษาไทย หนวยเสียงหยุดอโฆษะธนิต /p*, t*, k*/ และอโฆษะ
                                               สิถิล /p, t, k/ กลายเสียงรวมเปนเสียงอโฆษะสิถิล /p , t , k/ ในตําแหนงทายคํา

                                               แตถามีการเติมปจจัยสียงธนิตก็จะปรากฎ ในตําแหนงตนพยางคของพยางค
                                               ใหมที่เกิดจากการตอปจจัย ตัวอยางเชน


                                               lo¼:k        “โลก”                §lo:ka:      “โลกา”
                                               ro¼:k        “โรค”                ro:k*a:      “โรคา”

                                               soº:k        “โศก”                so½:ka:      “โศกา”
                                               suºk         “สุข”                suºk*a½:     “สุขา”

                                        6.2.1.2    การรวมหนวยเสียงสระ  (vowel  neutralization)
                                               หนวยเสียงสระ 2 หนวยเสียง กลายมาเปนเสียงเดียวกันในบางบริบท เชน

                                               (จาก Schane, 1973)ภาษารัสเซียมีเสียงสระ 5 เสียง /i , e , a , o, u/ ในตําแหนง
                                               แกนพยางคที่ไมเนน  สระจะกลายเสียงเหลือ 3 เสียง เสียง / e / จะกลายเปน
                                               [ i ] และ / o / จะกลายเปน [ a ] เหลือเสียงสระ [ i , a , u ] เพียง 3 เสียง


                                               sn, e¸k      “หิมะ”        sn, iI¸a     “หิมะ”       ( พหูพจน )

                                               l, e¸s       “ปา”         l, is¸a      “ปา”          ( พหูพจน )
                                               Ila¸s        “ตา”          Ilaz¸a       “ตา”          ( พหูพจน )
                                               Io¸rat       “เมือง”       Iarada¸      “เมือง”       ( พหูพจน )

                                               os¸traf      “เกาะ”        astrav¸a     “เกาะ”       ( พหูพจน )
                                               lu¸k         “หัวหอม”      luk¸a        “หัวหอม”  ( พหูพจน )

                                 6.2.2  การรวมเสียง ( Coalescence )
                                        หนวยเสียง 2 หนวย รวมสัทลักษณเขาดวยกันเปนหนวยเสียงเดียวกัน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69