Page 66 -
P. 66

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                              สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง  59


                                        กิริยาบุรุษที่ 3 (อดีต)  infinitive

                                        dreÖskeÖ            dreÖksti      “ฉีก ทําใหขาด”
                                        m'ÖzIeÖ             m'Isti        “ถัก”
                                        blnÖ5keÖ            blnÖk5ti      “โยน”


                           6.4  การเพิ่มและลดเสียง

                                 การเพิ่มเสียงและลดเสียงมักจะมีแรงผลักดันมาจากการจัดรูปแบบพยางค เพื่อใหพยางคแตละ
                          พยางคในคํานั้นๆ ออกเสียงไดงายและสะดวกขึ้น และรูปแบบพยางคที่งายที่สุดก็คือ รูปแบบ CV

                          ฉะนั้นในการผสมผสานคําหรือในถอยความตอเนื่อง เกิดเสียงพยัญชนะมาเรียงกันหลายๆ เสียง
                           ( consonant cluster )  หรือเสียงสระรวมกันหลายๆ เสียง ( vowel cluster )  ทําใหเกิดความไมสะดวก

                          หรือยากลําบากในการจัดรูปแบบพยางคและออกเสียง การสอดแทรกเสียงสระ ( vowel insertion  )
                          หรือการสอดแทรกเสียงพยัญชนะ ( consonant insertion )  ก็จะเกิดขึ้นเพื่อชวยใหการจัดพยางคเขา
                           รูปแบบ  CV  โดยแยกเสียงพยัญชนะซอนหรือสระประสมหลายๆ เสียงออกจากกัน


                                 ในทางกลับกัน วิธีธรรมชาติอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยในการจัดพยางคก็คือ การลบเสียงพยัญชนะ
                           หรือสระ ( consonant / vowel deletion ) เพื่อขจัดเสียงซอนทําใหเกิดรูปแบบพยางค CV ที่งายและออก
                          เสียงไดสะดวกเชนกัน นอกจากนี้การเนนพยางคสัมพันธโดยตรงกับการเพิ่มหรือลดเสียงแกนพยางค
                          เพื่อความชัดเจนของพยางค หรือความสะดวกในการออกเสียงโดยไมมีผลกระทบตอความหมายของคํา


                                 6.4.1  การสอดแทรกเสียง ( Insertion )

                                      6.4.1.1      การเพิ่มเสียงพยัญชนะ ( Consonant Insertion )
                                               ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษบางสําเนียง จะมีการเพิ่มเสียง [ ! ] กอนเสียงกัก
                                               ทายคํา หรือทายพยางค เชน

                                               ‘take’       [ t*æ!k* ]           “เอา”
                                               ‘mat’        [ mæ!t* ]            “เสื่อ”

                                               ‘but’        [ b¡!t* ]            “แต”

                                 แตการเพิ่มเสียงนี้เปนการออกสําเนียงตางที่ไมเกี่ยวของกับการจัดรูปแบบพยางคใหงายขึ้น

                                      6.4.1.2      การเพิ่มเสียงสระ ( Vowel Insertion )

                                               มีคําในภาษาไทยจํานวนมากในกระบวนการประสมประสานคําที่มีการเติม
                                               หรือเพิ่มพยางคระหวางคํา โดยการเพิ่มเสียงสระ [a] ดังนี้

                                               /tu¸kta:/                [tu¸kkaº!ta:]    “ตุกตา”
                                               /sil/ + /pin/            [sinla¸!pin]    “ศิลปน”
                                               /!uº!dom/ + /sÓzksa½:/        [!uº!domma¸!sÓzksa½:] “อุดมศึกษา”
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71