Page 68 -
P. 68

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                              สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง  61




                                 6.4.4  การลดรูปสระ ( Vowel reduction )
                                        สระในพยางคไมเนน มักจะไมออกเสียงเต็มเนื่องจากไมมีผลกระทบตอการรับรูของ
                                        ผูฟงในการสื่อความหมาย จะถูกลดรูปเปนสระแนวกลาง  [‹]  ซึ่งสะดวกในการ-

                                        ออกเสียง ตัวอยาง เชน ภาษาไทย
                                               p*as#½:                        p*‹s#½:               “ภาษา”

                                               mamu#¼0             m‹mu#¼0             “มะมวง”
                                               p*as#½:s#º:t        p*‹s#½:s#º:t        “ภาษาศาสตร”

                                               nam#¸tsaka:n        n‹m#¸ts‹ka:n        “นมัสการ”
                                               saduº#k             s‹duº#k             “สะดวก”

                                 6.4.5  การปรับแกนพยางค

                                      6.4.5.1      การปรับสระเปนพยัญชนะกึ่งสระ
                                               สระในพยางคที่ไมเนนจะถูกปรับเปนเสียงกึ่งสระ ออกเสียงควบกับพยัญชนะ

                                               ตน เมื่อตามดวยเสียงสระที่เนนพยางค เชน ในภาษาฝรั่งเศส สระสูงหนา [ i ]
                                               จะปรับเปนเสียงกึ่งสระ [ j ] เมื่อตามดวยปจจัย / e / ซึ่งเปนแกนพยางคเนน
                                               (Schane, 1973 )



                                               sip    “เลื่อย ( ไม ) ( บุรุษที่ 3 เอกพจน )”  sje¸   “เลื่อย ( infinitive )”
                                               <u¸    “เลน ( บุรุษที่ 3 เอกพจน )”            <we¸  “เลน  ( infinitive )”

                                               tu¸    “ฆา ( บุรุษที่ 3 เอกพจน )”     twe¸  “ฆา   ( infinitive )”


                                        6.4.5.2     การปรับสระเปนสระประสม ( Diphthongization )

                                               สระในพยางคที่เนนจะถูกปรับเปนสระประสมเพื่อความชัดเจนและการเนน
                          เชน การพัฒนาเสียงสระในภาษาอังกฤษจากภาษาโรแมนซ ( จาก Schane 1973 )

                                               ภาษาโรแมนซ         ภาษาอังกฤษ

                                               divi pn             d‹va pjn      “devine”
                                               sere pn             s‹ri pjn      “serene”
                                               profæ pn            pr‹fe pjn     “profane”

                                               profu pnd           pr‹fa pwnd    “profound”
                                               provn pk            pr‹vo pwk     “provoke”
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73