Page 70 -
P. 70

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                              สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง  63


                           (4)     p   → p       /        ] σ
                                   h


                                 เชนคําวา “ภาพ”  / p  a  :¼p   / จะออกเสียงเปน  [ p a  :¼p ]  มีเสียง  [p] ที่ทายพยางคและทายคํา
                                                                       h
                                                     h
                                                 h
                          แตถามีการประสมประสานคําระหวาง  “ภาพ” + “ยนตร”   จะมีพยางคใหมเกิดจากการสอดแทรก
                           เสียงสระ [ # ]  ระหวางคําทั้งสอง (กฎขอ (7))  เสียง  [p  ]  จะปรากฎเสียงของหนวยเสียงเดิม
                                                                          h
                              / p /     ที่ตนพยางคใหมที่เกิดจากการพิมพเสียง  (copy)    พยัญชนะ และการสอดแทรกสระระหวางคํา
                              h
                          ตามดวยการเติมเสียงกัก   [ ! ]  ทายพยางค (กฎขอที่ (6)  (7) และ (8) ตามลําดับ)

                                 ภาษาไทยมีเสียงในกลุมเสียงธรรมชาติเดียวกันกับ / p  /  ที่มีพฤติกรรมเชนเดียวกัน ไดแก
                                                                           h
                          เสียง    / t  /    และ / k  /  เชนคําวา “รัฐ”  และ “โรค”  เปนตน ฉะนั้นจะมีกฎในภาพรวมของภาษาไทยที่
                                  h
                                           h
                           ครอบคลุมเสียงกลุมนี้ ซึ่งเขียนโดยสัทลักษณไดดังนี้


                           (5) กฎแปรเสียงกักทายพยางค

                                               -son   →     [ -sprd GL ] /        ] σ
                                               -cont
                                               -vce

                                        อานวา เสียงกักอโฆษะ แปรเปนเสียงสิถิลที่ตําแหนงทายพยางค
                                               การประสมประสานคํานี้จะไดคําใหมวา [ p a:¼pp a¸!œon ] “ภาพยนตร”  ออก
                                                                                    h
                                                                               h
                          เสียง 3  พยางค หรือคําวา  “รัฐ” + “บาล”   ก็จะไดเปนคํา 3  พยางค  [ ratt az!ba:n ]  “รัฐบาล”
                                                                                         h
                          โดยผานกฎขอ  (6)  (7)  และ  (8)  ตามลําดับ เชนเดียวกัน

                                               ในกรณี “โรค” [ ro¼:k ] จากเสียงระดับลึก / ro¼:k  / เมื่อมีการเติมทายดวยเสียง
                                                                                   h
                            [-aa]  หรือ[-a:] “โรค” + “า”  พยัญชนะเสียงกักจะถูกจัดพยางคใหมมาเปนพยัญชนะตนของพยางคที่ 2
                          ออกเสียงเปนคําสองพยางค [ ro:k a: ]  ปรากฏเสียงเดิม / k  /  ในตําแหนงพยัญชนะตนของพยางคที่สอง
                                                                       h
                                                    h
                          อยางชัดเจน


                           (6) กฎการพิมพเสียง (copy) พยัญชนะ

                                                      -son                -son
                                                      -cont               -cont

                                             ø →            C                    . . .            C         C …

                                                      [ αF ]               [αF ]     σ

                                 คือ จากเดิมไมมีอะไร [ ø ] จะมีการพิมพเสียง (copy) พยัญชนะเสียงกัก จากพยัญชนะเสียงกักที่
                          อยูทายพยางค แทรกระหวางเสียงกักเดิมกับพยัญชนะตนของพยางคถัดมา
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75