Page 69 -
P. 69

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          62   สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง



                               6.5    กฎทางเสียง

                                 คือกฎที่รวบรวมไดจากพฤติกรรมตางๆ ของเสียงในภาษาในภาพรวม กฎแตละกฎครอบคลุม

                           พฤติกรรมของกลุมเสียงที่มีธรรมชาติเดียวกัน กระบวนการทางเสียงในการพูดจัดเปนขั้นตอน โดยที่หนวย
                          เสียงที่เก็บในระดับลึก ( underlying representation )  ในพจนานุกรม (  lexicon  )  จะผานกฎทางเสียง
                          ( phonological rules )  ทําใหไดมาซึ่งเสียงในระดับผิว ( surface structure ) หรือเสียงที่ออกจริงพูดจริง

                          ( phonetic representation ) ดังแสดงใน (1)

                          (1)  หนวยเสียงในระดับลึก


                                               กฎทางเสียง


                                 เสียงในชั้นผิว

                                 ในการสรางคํา ซึ่งมีการประสมประสานคําและเติมวิภัตติ-ปจจัยจะมีการปฎิสัมพันธระหวาง
                           กฎทางเสียงและกฎการสรางคํากอนที่จะไดมาซึ่งเสียงในชั้นผิว  ดังนี้


                          (2)  หนวยเสียงในระดับลึก


                                               กฎทางเสียง          กฎการสรางคํา


                                 เสียงในชั้นผิว

                                 รายละเอียดในการสรางคําในพจนานุกรมจําลองในสมอง (    mental   lexicon   )
                           ซึ่งมีการปฎิสัมพันธกับกฎทางเสียง จะไดกลาวถึงในทฤษฎีพจนสัทวิทยาในบทที่ 10 ตอไป

                                        การเขียนกฎทางเสียงมีรูปแบบ ดังนี้

                           (3)    A   →  B  /     C             D

                                 คือเสียง A แปรเปนเสียง  B ในบริบทที่มีเสียง C นําหนาและตามดวยเสียง D
                                 ตัวอยาง ภาษาไทย มีเสียง  / p  /  เปนหนวยเสียง ซึ่งจําแนกตาง (contrast)  จากหนวยเสียง / π /
                                                       h
                          และ / b /   หนวยเสียง / p  /  นี้จะแปรเปนเสียง [ p ] ที่ตําแหนงทายพยางค โดยแปรเสียงรวมเปนเสียง
                                              h
                           เดียวกัน ( neutralized ) กับหนวยเสียง / p / ที่ตําแหนงทายพยางค (และทายคํา) ดังนี้
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74