Page 65 -
P. 65

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          58   สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง




                                      6.2.2.1      การรวมเสียงพยัญชนะ
                                               เสียงกึ่งสระ [ w ] ในภาษาไทย เมื่อตามหลังเสียงกักเพดานแข็งตนพยางค
                                               [k, k  ] จะรวมเปนเสียงเดียวกันซึ่งจะแผลงทําใหแยกจากกัน หรือสอดแทรก
                                                  h
                                               ดวยเสียงสระระหวางเสียงพยัญชนะทั้ง 2 ไมได ตัวอยางเชน
                                               / kwaÖ0 /       ,  [ k9aÖ0 ]  “กวาง”

                                               / k*waÖn /     ,   [ k*wa½Ön ]  “ขวาน”
                                               / k*waÖm /    ,   [ k*waÖm ]   “ความ”
                                               / k*wa¼m /     ,  [ k*wa¼m ]  “คว่ํา”

                                      6.2.2.2      การรวมเสียงสระ

                                               หนวยเสียงสระ 2 หนวยเสียง( สระประสม ) ในภาษาลาติน ( Latin )
                                               กลายมาเปนสระเสียงเดียวโดยรวมสัทลักษณทั้ง 2 สระดวยกันในภาษาสเปน

                                               ตัวอยาง( จาก Schane 1973 )
                                               Latin                      Spanish

                                               aidif¸ikium                edifi¸sio    “ตึก”
                                               aik9¸lem                   eIua¸l       “แมกระทั่ง”

                                               ka¸usa                     ko¸sa        “สิ่งของ”
                                               pa¸upere                   po¸bre       “ยากจน”

                                      6.2.2.3      การรวมเสียงของพยัญชนะและสระ

                                               ภาษาอังกฤษ มีการรวมสัทลักษณของเสียง “อาร” [ r ] กับเสียงสระที่นําหนา
                                               ในบริบท กลายเปนสระเสียง “อาร” (rhotacized vowel) [ v² ] ตัวอยางเชน
                                               ‘first’      [ f‹²st ]     “ที่หนึ่ง”

                                               ‘shirt’      [ 5‹²t ]      “เสื้อเชิรต”
                                               ‘learn’      [ l‹²n ]      “เรียน”


                           6.3 การสลับเสียง ( Metathesis )

                               คือการสลับที่ของหนวยเสียง 2  หนวยเสียง เพื่อใหงายในการออกเสียง มักจะมีผลทําใหพยางค
                           ที่มีลักษณะซับซอน เชน มีเสียงพยัญชนะเรียงกันตั้งแต 2  เสียงขึ้นไป ลดความซับซอนลง ตัวอยางเชน
                           ภาษาลิตทูเอเนียน (Lithuanian) (Halle & Clements, 1985)
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70