Page 63 -
P. 63

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          56   สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                      บทที่ 6 พฤติกรรมทางเสียงและกฎทางเสียง


                                        honliÖna           holliÖna      ‘flies along the bank’    “บินอยูที่ริมฝงน้ํา”
                                                                                  (กิริยาบุรุษที่3 เอกพจน)


                                        หรือภาษาสวาฮีลี ( Swahili ) มีเสียงนาสิกที่เปนหนวยคํา “พหูพจน” แปรฐานกรณ
                                        ตามเสียงพยัญชนะตนของคํานามรากศัพท ที่หนวยคํานี้ทําหนาที่เปน prefix ดังนี้
                                        ตัวอยางเชน (จาก Halle & Clements 1985)

                                        คํานามรากศัพท        คํานามพหูพจน

                                        bale                mBbale        ‘piece’      “ชิ้น”
                                        dago                nBdaIo        ‘nut-grass’   “หญาชนิดหนึ่ง”

                                        gimbi               0BIimbi       ‘beer’       “เบียร”
                                        d¸<ia               ÕBd<a         ‘passage-way’  “ทาง”

                                        6.1.1.4    เสียงสระกลมกลืนเสียงตามเสียงสระ

                                        ภาษายาเวลมานี ( Yawelmani ) มีการกลมกลืนเสียงสระ ( vowel harmony ) โดยสระ
                                        ในปจจัย ( suffix ) กลายเสียงหอปาก ( rounding ) ตามเสียงสระ ในรากศัพทเดิม คือ
                                         /i/           [u]  ถารากศัพทมีเสียง /u/  และ /a/          [o] ถารากศัพทมีเสียง /o/  ตัวอยาง

                                        (Kenstowicz & Kisseberth,   1979 : 323 )
                                        /xil/         xilit ,   xilal     ‘tangle’           “ยุงเหยิง

                                        /Iop/         Iopit ,  Iopol      ‘care for an infant’      “ดูแลเด็กทารก”
                                        /dub/         dubut ,  dubal      ‘lead by the hand ’     “นําโดยใชมือ”

                                        /max/         maxit ,  maxal      ‘procure’          “ไดรับ”
                                 6.1.2  การแผกแยกเสียง ( Dissimilation )
                                        คือการเปลี่ยนแปร หรือกลายเสียงใหตางไปจากเสียงในบริบท มักจะเปนไปเพื่อความ
                           ตางที่มีผลสัมฤทธิ์ตอการฟงของผูฟง ทําใหไดยินเสียงตางนั้นชัดเจน สามารถสื่อความหมายไดชัดเจน

                           ไมกํากวม
                                     ตัวอยาง ( ดัดแปลงจาก Fromkin & Rodman, 1993: 247 )
                                     ปจจัย (suffix) –al ในภาษาอังกฤษจะกลายเสียงเปน –ar เมื่อรากศัพทลงทายดวยเสียง [l]

                                 annual        จากรากศัพทภาษาลาติน     ‘annus’       “ปละครั้ง”
                                 annular       จากรากศัพทภาษาลาติน     ‘anulus’      “เปนวงกลม”

                                 venal          จากรากศัพทภาษาลาติน   ‘venum’       “ซื้อได”
                                 velar         จากรากศัพทภาษาลาติน      ‘velum’      “เกี่ยวของกับเพดานออนในชองปาก”

                                 spiritual     จากรากศัพทภาษาลาติน     ‘spiritus’       “เกี่ยวของกับฝายวิญญาณ”
                                 similar       จากรากศัพทภาษาลาติน     ‘similis’       “เหมือน คลายคลึงกัน”
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68