Page 58 -
P. 58
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 5 คลังศัพท 51
ตารางที่ 5.5 การระบุสัทลักษณสําหรับเสียงกักอโฆษะและกึ่งเสียดแทรกอโฆษะในภาษาไทย
p t tÛ k
syll - - - -
cons + + + +
son - - - -
cont - - - -
vce - - - -
ant + + - -
cor - + + -
del rel - - + -
เมื่อพิจารณากฎซ้ําซอนทั้งจากไวยากรณสากลและไวยากรณเฉพาะของภาษาไทย เราจะไดกฎดังนี้
UG RR’S (7) [-cont] → [-son]
(8) [-son] → [+cons ,-syll]
Lg specific RR’S (9 ) -son → [+del rel]
-ant
+cor
ฉะนั้น ในภาษาไทยสัทลักษณ [cont] และ [voc]และ [ant] [cor] เทานั้นที่จําเปนสําหรับเสียงกัก
อโฆษะและกึ่งเสียดแทรกในการเก็บเสียงระดับลึก ขอมูลที่เหลือจะไดจากกฎขอ (7)-(9) ซึ่งจะมาเติม
ชองวางเหลานี้ใหเต็มเมื่อผูพูดพรอมที่จะออกเสียงจริง
ตารางที่ 5.6 การระบุสัทลักษณจํานวนนอยที่สุดสําหรับพยัญชนะเสียงกักอโฆษะและกึ่งเสียดแทรก
อโฆษะในภาษาไทย
p t tÛ k
syll
cons
cont - - - -
son
vce - - - -
ant + + - -
cor - + + -
del rel