Page 53 -
P. 53
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
46 สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 4 สัทลักษณ
ชั้นสวนของโครงสรางหลัก (class tier) ไดแกชั้นสวนสัทลักษณปดชองเสียง (stricture tier),
ชั้นสวนสัทลักษณกลองเสียง (laryngeal tier) และ ชั้นสวนสัทลักษณเหนือกลองเสียง (supra-laryngeal
tier) ซึ่งมี 2 ชั้นสวนยอย คือฐานกรณ (place) และชั้นสวนนาสิก (nasal tier) การจัดชั้นสวนหลัก
(class-node) นี้ นอกจากจะจัดตามลักษณะทางสรีระของอวัยวะในการออกเสียง/เปลงเสียงและคุณสมบัติ
ทางกายภาพของเสียงแลว ยังพิสูจนเห็นจริงไดจากพฤติกรรมทางเสียงในภาษาตางๆวาสัทลักษณ
มีพฤติกรรมทางเสียงในลักษณะเปนหนวยรวมในชั้นสวนหลักระดับตางๆและพบวาชั้นสวนระดับยอย
สัมพันธกับชั้นสวนระดับสูงกวาในลักษณะพึ่งพา (dependent) ไมไดเปนอิสระตอกันและกันอยางเด็ดขาด
ดังแบบจําลองโรโดเล็กซใน 4.3.1 ตัวอยางเชน การกลมกลืนเสียงระหวางเสียงนาสิกและเสียงพยัญชนะ
ที่ตามหลังในภาษาจํานวนมาก เชน สเปน (Spanish), คีรุนดี (Kirundi), อังกฤษ (English)
เปนการกลมกลืนของสัทลักษณที่เกี่ยวของกับฐานกรณ (place of articulation) ในสวนที่อยูเหนือกลอง
เสียง (supra-laryngeal features) ไมเกี่ยวของกับกลุมสัทลักษณที่เกี่ยวของกับกลองเสียง
( laryngeal features ) หรือกลุมสัทลักษณอื่นใด
( 1 ) ภาษาอังกฤษ
‘emphasis’ [/f]
‘amplifier’ [mp]
‘monkey’ [0k]
‘anterior’ [nt]
เสียงนาสิกไดรับสัทลักษณที่เกี่ยวกับฐานกรณ (place) จากเสียงพยัญชนะที่ตามมาและแปรเสียง
ตามฐานกรณนั้น
( 2 ) ก. ข.
[+nasal] nasal
C C skeleton-supralaryngeal
Place Place
[αant] [βcor]
แบบฝกหัด
ทําแบบฝกหัดที่ 11-13 จากทายเลม