Page 57 -
P. 57

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                                    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                           บทที่  5  คลังศัพท
                           50


                           ตารางที่ 5.3    การระบุสัทลักษณจํานวนนอยที่สุดสําหรับเสียงสระ 5  เสียงเมื่อพิจารณากฎซ้ําซอนทั้งจาก
                           ไวยากรณสากลและไวยากรณเฉพาะของภาษา



                                                  i          e          a          o         u
                                   syll           +          +          +          +         +

                                   cons           -          -          -          -          -
                                   H              +          -                     -         +
                                   L                         -          +          -

                                   B              -          -                     +         +
                                   R

                                   son
                                   cont
                                   voice



                                ขอมูลเกี่ยวกับสัทลักษณที่เหลือ  [R, son , cont, voice, B, H, L] จะไดมาจากกฎขอ (2) ถึง (6)



                                 จากตารางที่ 5.3 จะเห็นวา สัทลักษณที่บอกฐานกรณจําเปนตองระบุสําหรับสระทั้ง 5 ในภาษานี้
                           คือ H, L, B  ดังนี้

                           ตารางที่ 5.4  การระบุสัทลักษณ H, L, B สําหรับเสียงสระ 5 เสียง



                                                    i      e       a        o        u
                                         H         +        -               -        +
                                         L                  -      +        -
                                         B          -       -               +        +



                             ตอไปนี้เปนตัวอยางเสียงกักอโฆษะและเสียงกึ่งเสียดแทรกอโฆษะในภาษาไทยที่ระบุสัทลักษณเต็ม
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62