Page 56 -
P. 56

ิ
                                               ์
                                ื
                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                                   ิ
                                                              ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               30




















                     ภาพที่ 1.26 I [love] Taxi      ภาพที่ 1.27 Happy Berlin (Free Massage)

                     หมายเหตุ. จาก Installation Art in the new millennium, (p. 118 – 119), Oliveira, Oxley and Petry,
                     2004, Thames & Hudson.

                                                                              
                       สวนผลงานที่ชื่อวา Happy Berlin (Free Massage) ของสุรสีห ไดนำการนวดแผนไทยไปให
               ผูชมชาวเยอรมันในงาน Berlin Biennale ไดรับรูถึงความผอนคลายจากการนวดแผนโบราณของไทย
               ที่ถือเปนการรับรูทางสุนทรียะผานการสัมผัสทางรางกายของผูชม  ศิลปนใชผาไหมสำหรับการจัดสรร

                           ิ
                    ี่
               พื้นทของหอศลปใหเกิดบรรยากาศแบบรานนวดเพอสรางความผอนคลาย  และใหผูชมสามารถเขามา
                                                         ื่
                                                                                               
               ใชบริการไดฟรีในชวงเวลาของนิทรรศการ   อีกทั้งขณะที่ผูชมรอคอยการใหบริการนวดมีภาพยนตร
               เรื่อง The Mask of Zorro ใหชมเพื่อความผอนคลาย ผลงานศิลปะการจัดวางของสุรสีหไดเปดโอกาส
                                                    ่
               ใหผูชมสามารถเขาไปมีสวนรวมในกจกรรมทีขยายขอบเขตของความเปนไดในงานศิลปะ    ไปสูวิถ ี
                                             ิ
               ชีวิตประจำวันและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม     โดยนำเสนอการนวดแผนโบราณของไทยเพื่อให
                                                                                 ี่
               ความสุขทางรางกายแกผูชม   ที่ไมใชแคประสบการณทางสุนทรียะแบบเดิมทการรับรูความงามเปน
                                    
                                                         ่
                                                 ึ
               เรื่องของความพึงพอใจเทานัน    รวมถงการเปลียนบริบทของการนวดแผนไทยใหอยูในรูปแบบของ
                                       ้
                                                                                       
                                                                                                
                              ิ
                                                                                               ี
                                                                                               ่
                                                      ่
               กระบวนการทางศลปะ  และเปนการแลกเปลียนทางวัฒนธรรมในรูปแบบนิทรรศการศลปะ  ทผูชม
                                                                                       ิ
               สามารถเขาไปมสวนรวมในการรับรูผลงานศลปะ
                                                   ิ
                                            
                            ี
                       ฤกษฤทธิ ตระวนิช (Rirkrit Tiravanija) เปนศิลปนทีนำแนวคิดเรื่องความสัมพันธของศลปะ
                                ี
                                                                   ่
                              ์
                                                                                               ิ
                                                                                    
               กับชีวิตประจำวันมานำเสนอผานการเปดพื้นที่ของศิลปะ  โดยใหผูชมไดเขามารับรูผลงานศิลปะดวย
               การพบปะสังสรรค  แลกเปลียนบทสนทนาพรอมกบไดรับประทานผัดไทยไปพรอมๆ  กัน  ศิลปน
                                                             
                               
                                        ่
                                                          ั
                                ี่
                                                                                       ื้
               ตองการเปลี่ยนพื้นทแกลเลอรี่ใหเปนครัวเพอทำอาหารใหกบผูคนไดชิม  เปนการเชื่อมพนที่สวนตัวกับ
                                                               ั
                                                   ื่
               พื้นที่สาธารณะ ในผลงาน Untitled (Pad thai) ในป ค.ศ. 1990 ที่เขาใช Paula Allen Gallery ใน
               เมืองนิวยอรก  เปนพื้นที่ปรุงผัดไทยแจกใหผูชมไดรับประทานฟรี  ซึ่งศิลปนตองการนำเสนอสุนทรียะ
               ทางวัฒนธรรม และเชื่อมทั้งทางกายภาพและจิตนาการของผูชมไปพรอมๆ กัน ผลงานของฤกษฤทธิถือ
                                                                                                ์
               เปนกระแสของแนวคดแบบสุนทรียศาสตรเชิงสัมพันธ (Relational Aesthetics) ในชวงเวลากอนเขา
                                 ิ
               สูยุคสหัสวรรษใหมป  ค.ศ.  2000  ทใหความสำคญกับความสัมพันธของผูชมและการมีสวนรวม  การ
                                              ี่
                                                        ั
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61