Page 51 -
P. 51

ิ
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                   ิ
                                ื
                                               ์
                                            ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                        25


                              แคลร บิชอพ (Claire Bishop) นักประวัติศาสตรศิลปชาวอังกฤษ อธิบายถงความหมายของ
                                                                                            ึ
                                                                                               ิ
                       Installation art วา ศิลปะการจัดวางเปนนิยามแบบกวางๆ ที่กลาวถึงประเภทของงานศลปะที่ใหผูชม
                                    ั
                       เขาถึงได  และมกอธิบายวาเปนการแสดงละคร  (theatrical)  งานที่นาดื่มด่ำ  (immersive)  หรือเปน
                                  
                       ประสบการณ (experiential) (Bishop, 2005, p.6) ในความหมายที่รูปแบบของการติดตั้งผลงาน ไม 
                       สำคัญเทากับการเปดโอกาสใหผูชมเขาถึงงานศิลปะ  ทั้งในแงกายภาพและการรับรู  รวมถึงการไดรับ

                       ประสบการณโดยตรงของผูชมเอง  ขอจำกดทางรูปแบบและเทคนิคในการแสดงออกทางศลปะในงาน
                                                          ั
                                                     
                                                                                                ิ
                       แบบประเพณทังงานจิตรกรรมและประตมากรรม  ไดถูกปลดปลอยและแสดงออกมาอยางไมจำกัดทั้ง
                                  ี
                                                        ิ
                                   ้
                                            ่
                                            ี
                       ในงานศิลปะยุคศตวรรษท  20  ที่ศิลปะไมใชแคเรื่องของความงามหรือใชเพื่อประดับตบแตงความ
                                 
                       สวยงามอกตอไป
                               ี
                              ศิลปะการจัดวาง (Installation art) เปนรูปแบบการแสดงออกในศิลปะรวมสมัยทไดรับการ
                                                                                                  ี่
                                                                   ึ
                       แพรหลายอยางมากในยุคกอนป  ค.ศ.  2000  จนถงปจจุบัน  และถอวาเปนภาษาศิลปะทมีความ
                                             
                                                                                  ื
                                                                                                    ี่
                       รวมสมยในการแสดงออกทไมจำกัดในเรื่องของพื้นท และการเขาถึงความจริงผานการใหความหมายที ่
                                             ี่
                                                                 ี่
                                               
                            ั
                                                  
                                                                                                         ึ
                       ถูกเปดเผยมากวาที่เคยเปน  ทั้งขอมูลและเทคโนโลยีที่สงผลตอสื่อและรูปแบบในการนำเสนอ  รวมถง
                                                                 
                       การติดตั้งผลงานที่สามารถทำใหผูชมเขาถึงผลงานไดอยางใกลชิด   และไดรับประสบการณทาง
                                                                                 ิ
                       สุนทรียะที่ดื่มด่ำ ศิลปะการจัดวางจึงแตกตางจากสื่อแบบดั้งเดิม (ประตมากรรม จิตรกรรม  ภาพถาย
                                                                                                       
                       และวิดีโอ) ตรงที่สื่อถึงผูชมโดยตรง เปนการปรากฏตัวตามที่เปนจริงในพื้นที่นั้นๆ  (Bishop, 2005, p.
                                                                       ิ
                       6)     ความเปนสากลในศลปะการจัดวางนี้ยังสงผลตอศลปะรวมสมัยของศิลปนทมีรากเหงามาจาก
                                              ิ
                                                                                           ี่
                                                                                                ั
                                                                                      ั
                       ประเทศในซึกโลกตะวันออก แตสามารถรับรูไดถึงการเปลี่ยนแปลง ประกอบกบความรูสมยใหมในโลก
                                                             
                                                                                                   ี
                       ตะวันตกที่ผานสื่อทางเทคโนโลยีในรูปแบบตางๆ มากขึ้น เกิดการแสดงออกอยางอิสระและมเสรีภาพ
                                                                                  ุ
                       ในการสื่อความหมายผานภาษาศิลปะแบบรวมสมย        ที่ผูคนทั่วทุกมมโลกสามารถรับรูและเขาถึง
                                                               ั
                       ความหมายของศิลปะรวมสมยไดอยางไมยากนัก
                                              ั
                              ศิลปนจีนที่ไปใชชีวิตในตางแดนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ดินแดนแหงเสรีภาพและโอกาสอยาง
                       อาย เวยเวย (Ai Weiwei) ไดกลับไปใชชิวิตอยูในดินแดนบานเกิด และมักสรางผลงานที่ตั้งคำถามกับ
                                                                                              ่
                                             ั
                       สังคมและวัฒนธรรมรวมสมยของจีน รวมถงนโยบายของรัฐบาลจีน ผลงานของเวยเวยทีนำจักรยานมา
                                                          ึ
                       เปนสัญลักษณของวิถีชิวิตของประชาชนจีนจำนวน   10,000    คัน    มาประกอบสรางเปนงาน
                                  
                       ประติมากรรม  ซึ่งตนกำเนิดของจักรยานมาจากความมีอิสระและเสรีภาพ  ไดถกนำมาตั้งคำถามวิถ ี
                                                                                          ู
                       ชีวิตประจำวันของผูคนในประเทศจีนยุคสมัยใหมกับเศรษฐกิจแบบทุนนิยม   ที่ผูคนในสังคมจีนไม 
                       สามารถใชสิทธิและเสรีภาพขนพื้นฐานของความเปนมนุษยยุคสมัยใหม  กับการตั้งคำถามในเรื่องการ
                                              ั้
                       ปดกั้นสื่อและนโยบายทางการเมองของรัฐบาลจีนในปจจุบัน
                                                 ื
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56