Page 54 -
P. 54

์
                                            ิ
                                   ิ
                                                   ิ
                                                                               ั
                                                              ิ
                                                                                       ุ
                                ื
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               28


               จัดวางของซูหยังทำลายเสนแบงของคำวาสถาปตยกรรมกับงานประติมากรรมใหพราเลือน  อีกทงยัง
                                                                                               ั้
                                                                ั
                                                                   
               นำเสนอวัฒนธรรมของเกาหลีผานรูปแบบของศลปะรวมสมยไดอยางนาสนใจ
                                                      ิ
                       คิมซูจา  (KImsooja)  ศิลปนชาวเกาหลีใตอีกคนที่นำแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมของเกาหลีมา
                                ิ
                                          ั
               นำเสนอในรูปแบบศลปะรวมสมย       ซูจาใชสื่อการแสดงออกที่หลากหลายอยาง   ศลปะการแสดง
                                                                                       ิ
               ภาพยนตร  ภาพถาย  ศิลปะการจัดวางโดยใชทั้งแสง  เสียง  ผาและสิ่งทอ  เนื่องจากซูจาเปนศิลปนท ี่
                              
               เดินทางไปมาระหวางเมืองใหญอยางนิวยอรค  ปารีส  และโซล  ทำใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของ
               วัฒนธรรมรวมสมัยที่ตัวเองสนใจ ในผลงานที่ชื่อวา A Mirror Woman ในป ค.ศ. 2002 ที่ซูจานำผา

               คลุมเตียงของชาวเกาหลีมาคลี่ใหเห็นความงามของสีสันและลวดลาย  โดยติดตั้งไวที่หองกระจกเพือให
                                                                                               ่
                                              ู
               ภาพในกระจกสะทอนผาคลุมเตียงที่ถกตากเอาไวในหองนิทรรศการ ซูจายังนำผามาใชในงานศิลปะไม 
                                                                                             ุ
               วาจะเปนในรูปแบบศิลปะการแสดง ที่มองวาผาเปนสวนหนึ่งของรางกายที่หอหุมวัฒนธรรมไปทกๆ ที่
                                                        
                       การเดินทางของวัฒนธรรมและการรับรูขอมูลขาวสารในยุคสื่อสารสนเทศ   รวมถึงความ
               เคลื่อนไหวทางศิลปะทั้งแวดวงวิชาการและนิทรรศการในระดับนานาชาติ  ยอมสงผลตอกระแสการ

                                   ิ
                                            ั
               เปลียนแปลงในวงการศลปะรวมสมยของไทย นิทรรศการผลงานศิลปะการจัดวางของมณเฑียร บุญมา
                   ่
                                                                ึ
               (Montien  Boonma)  ศิลปนที่เพิ่งเดินทางกลับมาจากศกษาศิลปะที่ประเทศฝรั่งเศส  ไดนำเสนอ
               เรื่องราวความเปนไทยผานการใชวัสดุที่หาไดตามชนบทเชน ดินเหนียว ฟาง กระสอบ เขาควาย ลังไม
                                                      
                                                         
               และกระปองน้ำ  ในนิทรรศการ  เรืองราวจากทองทง  ในป  ค.ศ.  1992  โดยนำเสนอในรูปแบบ  Arte
                                            ่
                                                         ุ
               Povera ที่ใชวัสดุตามชนบทมาสรางสรรคศิลปะการจัดวาง ซึ่งถือเปนสิ่งที่ตื่นตาตื่นใจมากในชวงเวลา
               นั้น  มณเฑียรยังไดรับเชิญไปแสดงผลงานในระดับนานาชาติ  ซึ่งตอมาผลงานของมณเฑียรไดนำ
               สมุนไพรมาเปนสวนประกอบในงานอยางผลงานที่ชื่อวา  อโรคยาศาลา  (Arokhayasala)  ในป  ค.ศ.
                                                                                               ่
                                                                         ั
               1996  โดยการใชสมุนไพรฉาบบนกลองอลูมิเนียมแลวนำมาวางซอนกนในลักษณะคลายสถูป  เพือให
               เกิดพื้นที่ภายในและมีรูปปอดหลอโลหะหลายชิ้นที่หอยลงมาจากดานบน   ซึ่งผูชมสามารถเขาไปใน

                                      ่
               พื้นที่ของโครงสรางภายในทีสามารถพิจารณารูปทรงและไดรับรูถึงกลิ่นสมุนไพร  จังหวะและพื้นที่ของ
               การจัดวางทำใหผูชมไดเกิดการใชสมาธิกับการพิจารณาผลงาน ศิลปนไดแรงบันดาลใจจากการสูญเสีย

               คนรักจากโรคมะเร็ง และการทำงานศิลปะอาจเปนสิ่งที่เยียวยาหัวใจจากความพลัดพราก และใหระลึก
               ถึงความตายที่สามารถเกิดขึ้นไดทุกขณะ

                       ผลงานอีกชิ้นของมณเฑียร  บุญมาที่ใชสมุนไพรเปนสวนประกอบในผลงานทมีชื่อวา  House
                                                                                     ี่
               of Hope ในป ค.ศ. 1996 – 1997 ศิลปนไดนำเม็ดสมุนไพรแบบยาลูกกลอนมารอยเปนเสนๆ คลาย
               ลูกประคำ  และหอยจากดานบนลงมาโดยใหรูปทรงมีลักษณะคลายกับรูปทรงของบาน  ความหวังจาก

                                                                                              
               การรักษาโรคใหหาย สวนขางในประกอบติดตั้งดวยโครงสรางไมที่วางซอนๆ กัน ที่มีลักษณะไมมั่นคง
               สื่อใหเห็นถึงความไมแนนอนในสภาวะแหงความเปนธรรมชาติ  ศิลปนไดสรางบรรยากาศใหเกิดสมาธิ
               และความสงบ  ซึ่งโดยรอบๆ  ผนังที่ติดตั้งผลงานฉาบดวยสมุนไพร  ที่เปนบรรยากาศคลายกับควันธูป
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59