Page 57 -
P. 57

ิ
                                               ์
                                ื
                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                                   ิ
                                                              ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                        31


                                                              ี่
                       เปลี่ยนทาทีของผูชมที่จากการับรูผลงานศิลปะทอยูตรงหนา   เปลี่ยนเปนกระบวนการทางศิลปะท ี่
                                                                                       ั
                       สามารถกลืนกินอาหาร     และการมีปฏิสัมพันธและแลกเปลี่ยนบทสนทนากบผูชมอื่นในนิทรรศการ
                       ศิลปะ  อกทั้งยังเปนการพราเลีอนเสนแบงระหวางศิลปะกบสิ่งที่ไมเคยถกนิยามวาเปนศลปะ  ภายใต
                                                                                  ู
                                                                      ั
                                                                                              ิ
                               ี
                       ความสัมพันธของมนุษยกับทกสรรพสิ่งทอยูรอบๆ มนุษย
                                              ุ
                                                        ี่












                          ภาพที่ 1.28  Untitled (Pad thai)          ภาพที่ 1.29 Untitled (Pad thai)

                          หมายเหตุ. จาก www.tatlerasia.com/lifestyle/arts/how-is-rirkrit-tiravanija-pad-thai-art

                                                                                                   ี
                              ศิลปะเชิงสัมพันธ (Relational art) เปนขบวนการทางศิลปะที่ปรากฏตัวขึ้นมาและมอทธิพล
                                                                                                     ิ
                                                                    ่
                                                    ั
                                           ิ
                           
                                     ิ
                       มากตอชุดความคดของศลปะรวมสมยในชวงทศวรรษที  1990s  แนวคิดเกี่ยวกับศิลปะเชิงสัมพันธ
                       สงผลตอแรงบันดาลใจของศิลปนรวมสมัย นิโคลาส บูรริโยด (Nicolas Bourriaud) ภัณฑารักษ นัก
                                                          
                       ปรัชญาและนักวิจารณศิลปะชาวฝรั่งเศสไดนิยามคำวา  Relational  aesthetics  วาเปนทฤษฎี
                                         
                       สุนทรียศาสตรที่ประกอบดวยการตัดสินผลงานศิลปะบนพื้นฐานของความสัมพันธระหวางมนุษย  ที ่
                       ผลงานเหลานั้นแสดงออกมา สรางขึ้น หรือกระตุนเรา รวมถึงคำวา Relational art วา ชุดปฏิบัติการ
                                                                                              ้
                                              ั
                       ทางศิลปะที่ยึดเอาความสัมพนธของมนุษยทั้งหมด และบริบททางสังคมเปนจุดเริ่มตนทังในทางทฤษฎี
                       และปฏิบัติ มากกวาการมุงเนนความมีอิสระและพื้นที่สวนตัว (Bourriaud, 2002, p. 112 - 113)

                                                                                                ่
                                                                                                      ี
                              ศิลปะเชิงสัมพันธเปนการทำงานภายในขอบเขตของความสัมพันธ   ในฐานะทีมนุษยมการ
                       แลกเปลี่ยนกันทางสังคมมากกวาความเปนตัวแทนของการแสดงออก ผูชมไดรับประสบการณใหมผาน
                                                                    ี
                       สิ่งที่เรียกวาศิลปะเชิงสัมพันธ  ทำใหศิลปะรวมสมัยมพลังและลักษณะเฉพาะตัวในการเขาถึงผูคนใน
                       ฐานะความสัมพันธ ที่ซึ่งเปนการสื่อสารทางวัฒนธรรมรวมสมัย บูรริโยดยังนิยามการปฏิบัติทางศิลปะ

                                                                                              ั
                                            ่
                       วาเปนความสัมพันธกับผูอนเสมอ   และในขณะเดียวกันก็เปนตัวแทนในความสัมพนธกับโลกดวย
                                            ื
                                                                            ั
                       (Bourriaud, 2002, p. 85) นอกจากความสัมพันธกับสิ่งตางๆ กบปฏิบัติการทางศิลปะ ยังรวมถึงการ
                       เปดพื้นทการรับรูของผูชม  และไดเปลี่ยนทาทางการรับรูของผูชมในงานศิลปะ  รวมถึงการขยายแดน
                                                   
                              ี่
                                          ี่
                       ของศิลปะไปกับทุกสิ่งทมีความสัมพันธกับวิถีชีวิตของมนุษย
                              ยุคหลังมิลเลนเนียม (Post millenium) กระแสการติดตั้งผลงานและการใหผูชมไดมีสวนรวม
                                                                                               ี่
                       ในการรับรูผลงานผานพื้นทและการติดตั้งผลงานเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว รวมถึงศิลปนไทยทเคยใชชีวิตอยู
                                             ี่
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62