Page 59 -
P. 59

์
                                            ิ
                                                              ิ
                                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                   ิ
                                ื
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                        33


                       สะทอนเรื่องสภาวะของจิตที่ไปรับรูสรรพสิ่งตางๆ   และการจำแนกความจริงจากสิ่งที่เปนมายาใน
                       ความหมายของพุทธศาสนา ผลงานที่ชื่อวา ปริเปลือก เปลี้อง (Shed the Shells) โดยใชวัสดุอยาง

                       คราบงู ไมไผ โลหะ และหัวโขน มาประกอบติดตั้งโดยใชแสงไฟในการสรางบรรยากาศในการรับรูของ
                       ผูชม  การสรางสรรคผลงานไดกำหนดความหมายเปรียบธรรมชาติของ  “งู”  คือ  สัญชาตญาณ  และ

                       สัญชาตญาณของความเปนคน คือ มนุษยผูประเสริฐ แตความเปนมนุษยผูประเสริฐของ “คน” นัน มัก
                                                                                                     ้
                       ถูกนำไปเปรียบกับงูอยูเสมอ คราบของคนอาจเปรียบไดในระดับของเปลือกที่หุมภายนอก คอกายและ
                                                                                                 ื
                                                                           ั
                       ภายใน คือ จิต “คราบงู” จึงสือความหมาย “เปลือก” ที่คอยกกกั้น หุมหอกายกบจิตใหยึดตรึงโยงใย
                                                                                         ั
                       อยูกับโลก  และในผลงานชิ้นนี้ยังรวมดวยกับการกำหนดใชสื่อสัญลักษณอื่นๆ  ที่แสดงความหมายดวย
                                                                                 
                       ตัวของสื่อเอง (พัดยศ, 2546, ไมปรากฏเลขหนา) ศิลปนใชวัสดุและการจัดวางในการแสดงออกเพื่อสื่อ

                                     
                       ความหมายที่สะทอนแนวคิดทางพทธปรัชญา  ผลจากการจัดวางทั้งวัสดุและแสงไฟที่สงผลตอการรับรู
                                                   ุ
                                                                           
                                                                                ั้
                                                                                              ึ่
                                       
                       สภาวะของภาพสะทอนจากแสงและเงาที่ผนังและเพดานหรือแมกระทงบนผิวน้ำ        ซงผูชมสามารถ
                       ตีความจากการับรูไดดวยตัวเอง



















                          ภาพที่ 1.32 Shed the Shells                ภาพที่ 1.33 Chapel amidst entertainment
                          หมายเหตุ. จาก พัดยศ พุทธเจริญ. (2546). สูจิบัตรนิทรรศการ “Mindfulness”. อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.

                              ศิลปนไดสรางบรรยากาศที่สงผลตอการรับรู  และการตีความของผูชมผานสิ่งของและวัสดุท ี่

                       นำมาใชในการจัดวาง  ผลงานที่ติดตั้งในนิทรรศการเดียวกันที่มีชื่อวา  วิหารในทามกลางมหรสพ
                       (Chapel amidst entertainment) พัดยศไดสรางรูปทรงเพื่อกำหนดเสนทางใหผูชมไดเขาไปสำรวจ
                                                             
                       ตัวผลงาน “สิ่ง” ที่อยูภายในวิหารนี้เปรียบเสมือนภาพอุปมาแหงการสำรวจรูที่ “จิต” วาสิ่งที่เห็นเปน
                       ความจริงหรือความลวง หรือความหมายภายในสิ่งนั้นเปนสิ่งที่ยึดถือ ยึดตรึง ยึดผูอื่น หรือยึดตนเปน

                       ที่พึ่ง  ภาพแหงความหมายทปรากฏเราตางไดสัมผัสรูถึงใจความสำคัญ  วาเห็นตรงกันหรือแตกตางกัน
                                              ี่
                       อยางไร “ภาพ” หรือ “สิ่ง” ทเห็นนั้นบงชี้แสดงวา “เรา” ตางมุงสู “วิหารในใจ” นี้ดวยสภาวะจิตแบบ
                                               ี่
                                                                                                      ่
                                                                                     ั
                       ใด (พัดยศ, 2546, ไมปรากฏเลขหนา) ศิลปนใชการจัดวางโครงสรางคลายกบเลขหนึ่งของไทย เพือให
                       ผูชมไดเขาถงพื้นที่ในการเดินเขาไปสำรวจวัสดุ   และสิ่งของในพื้นททั้งภายนอกและภายใน   ซึ่ง
                                ึ
                                                                                ี่
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64