Page 58 -
P. 58
์
ุ
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
ั
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
32
ที่ประเทศสหรัฐอเมริกไดนำเสนอผลงานศิลปการจัดวางผานนิทรรศการ “มะเร็ง” (Cancer) ของ
ศาสตราจารยธนะ เลาหกัยกล (Professor Thana Lauhakaikul) ในป พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ที ่
ุ
ั
่
ั
ี
นำเอาวัสดุและสิ่งของตางๆ มาจัดวางเพื่อสื่อสารถึงความสัมพันธของทศนธาตุตางๆ ทประกอบกนจน
ื่
ั
เปนรางกาย เพอใหผูชมไดตะหนักถงความสัมพนธและความหมายของโรคมะเร็ง
ึ
ิ
ภาพที่ 1.30 ภาพการจัดวางในนทรรศการ “มะเร็ง” ภาพที่ 1.31 ภาพการจัดวางในนิทรรศการ “มะเร็ง”
หมายเหตุ. จาก สูจิบัตรนิทรรศการเสน สี รูปทรงฯ, (น. 14 และ 20), ธนะ เลาหกัยกุล, 2546, อมรินทรพริ้นติ้งฯ.
“มะเร็ง” เปนงานแบบ (Installation) ใชพื้นที่ทั้งหมด 8 หอง วิธีการจัดวางวัสดุในพื้นที่ของ
แตละหองมีลักษณะขององคประกอบคลายคลึงกัน แตสรางบรรยากาศใหความรูสึกและมีความหมาย
แตกตางกัน แสงที่ใชในงานแสดงสวนใหญมาจากแสงธรรมชาติ โดยใชแสงจากตะเกยงน้ำมันกาด
ี
ึ
ี
ึ
หลายรอยดวง โดยที่ตะเกียงแตละดวง หมายถง คนเราหนึ่งคน รูปทรงของตะเกยง หมายถง รางกาย
็
แสงตะเกียง หมายถึง ชีวิต เมื่อสิ้นแสงตะเกียง งานแสดงกสิ้นสุดลง (ธนะ, 2546, น.2) โดยศิลปนแบง
ุ
พื้นที่ของการจัดวางและใชความหมายของธาตุตางๆ ที่ประกอบกันขึ้นจนเปนรางกายตามหลักพทธ
ศาสนาอยาง ดิน น้ำ ลม ไฟ มาเปนเนื้อหาในการอธิบายความหมายของงานในแตละหอง
ศิลปนนำวัตถุตางๆ ที่มความหมายและสรางความหมายขนมาใหมอยาง กระดองปู หมายถึง
ี
ึ้
เซลลมะเร็ง ทไปเชื่อมกับคำวา Crab ในภาษาอังกฤษ กับราศีปู ที่ใชคำวา Cancer ที่แปลวามะเร็ง โดย
ี่
ี่
มีการใชวัสดุตางๆ ทศิลปนเลือกมาใชในการแสดงออก เชน ขาวสาร จาน ตะเกียบ เสื่อ ตะเกียง
น้ำมันกาด ไมขีดไฟ พัดลม กระจกเงา ตนไม และสิ่งของอื่นๆ อีกมากมาย ไดถูกจัดวางไวอยางเปน
ระเบียบ ตามความหมายของพื้นที่ทศิลปนไดกำหนดไว เปดโอกาสใหผูชมไดเขาไปสำรวจสิ่งของตางๆ
ี่
เพื่อเชื่อมโยงถึงความสัมพันธของรางกายมนุษยกับปจจัยตางๆ ในการเกิดโรคมะเร็ง ซึ่งเซลลมะเร็ง
อาจอยูในรางกายของเรามาโดยตลอด เพียงแตรอเวลาและการเกิดของเหตุปจจัยในการใชชีวิตของเรา
ที่อาจเปนสิ่งที่หลอเลี้ยงใหเซลลมะเร็งไดเจริญเติบโตในรางกายของเรา
นิทรรศการชื่อ Mindfulness ของพัดยศ พุทธเจริญ (Phatyos Buddhacharoen) ในป พ.ศ.
ี
2546 (ค.ศ. 2003) เปนอกนิทรรศการศิลปะการจัดวางของศลปนไทยที่นาสนใจ โดยศิลปนนำเอา
ิ
ึ
มุมมองความเชื่อดานพุทธศาสนาของศิลปนมาถายทอดผานเนื้อหาและการติดตั้ง รวมถงการใชวัสดุท ี่