Page 60 -
P. 60
ิ
์
ิ
ิ
ุ
ั
ื
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
34
ประกอบดวยการสื่อความหมายผานสัญลักษณทางพทธศาสนา และทีผนังของโครงสรางมอกษรเจาะ
ั
ี
ุ
่
่
ี
ขาวเพื่อใหแสงสวางรอดออกมา สะทอนความหมายของพระธรรมทีมแสงสวางทางปญญาใหผูชมได
เขาถึงพระธรรม โดยจังหวะการปลี่ยนแปลงของแสงที่สงผลตอการรับรู และลักษณะการเดินของผูชม
ี่
เปนเหมือนการพิจารณาภาพจิตกรรมฝาผนังในโบสถวิหาร แตเปนตัวอักษรทใหผูชมสามารถเขาถึง
พระธรรมจากการอาน และความหมายของสัญลักษณทางพุทธศาสนาผานรูปทรงตางๆ อีกทั้งเพอ
ื่
ตรวจสอบสภาวะจิตจากการรับรูในการสำรวจพื้นททั้งภายนอก และภายในจิตใจของผูชม
ี่
จากนิทรรศการศิลปะการจัดวางของศิลปนไทยอยาง มณเฑียร บุณมา และศิลปนทไดรับ
ี่
ิ
ประสบการณจากการรวมแสดงในนิทรรศการศลปะระดบนานาชาตรุนตอๆ มา รวมถึงยุคสมัยที่สื่อ
ั
ิ
ั้
สารสนเทศและการเดินทางไปในที่ตางๆ ทั่วโลกมีความสะดวกสบายขึ้น อีกทงภายในประเทศกม ี
็
ี่
นิทรรศการระดับนานาชาติ ทมีศิลปนจากทั่วทุกมมโลกเดินทางมาแสดงผลงานศิลปะ และแลกเปลี่ยน
ุ
ความรูกับศิลปนไทยอยูตลอดเวลา สงผลใหเกิดการตื่นตัวในสังคมศิลปะรวมสมัยของไทยเปนอยาง
มาก และเกิดความหลากหลายมากขึ้นในการใชสื่อศิลปะในการแสดงออก รวมถึงศิลปะการจัดวางท ี่
ศิลปนนำแนวคิดและมุมมองความเชื่อตางๆ ไมวาจะเปนเรื่องพทธศาสนา วิถีชีวิตประจำวันที่สะทอน
ุ
ี
การคนหาตัวตนในความหมายของความเปนไทย อกทั้งการเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
่
อุดมการณทางการเมือง รวมถึงการทำความเขาใจปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมรวมสมัย
ของไทย
ผูชมกับงาน Immersive installation art
การเปดพื้นที่และชวงเวลาใหผูชมไดเขาถงความจริงผานผลงานศิลปะการจัดวาง และการเปด
ึ
ิ
โอกาสใหเกิดการรับรูของผูชมในงานศิลปะไดรับรูมากขึ้นทั้งในดานกายภาพ และทางความคด รวมถึง
่
ิ
การขยายขอบเขตออกจากขอจำกัดในเรื่องตางๆ ในความหมายทีศลปะไดเปดเผยความจริงโดยให
ผูชมเขาไปอยูในพื้นที่และเปนสวนหนึ่งของความจริงนั้น พื้นที่ความเปนจริงในความสัมพันธระหวาง
่
มนุษยกับศิลปะ จากสิ่งที่เคยปกปดไว ไดถูกเปดเผยและเปนสวนหนึ่งในงาน สงผลตอการเปลียนแปลง
รูปแบบการนำเสนอผลงานศลปะทางพื้นที่ (site) ในความหมายของศิลปะการจัดวาง (Installation
ิ
ั้
Art) ที่มีทงการติดตั้งและนำเสนอความจริงเสมอนผานสื่อเทคโนโลยีสมัยใหมที่สรางความเสมือนจริง
ื
ใหกับการรับรูในแบบตางๆ สงผลตอทั้งการแสดงออกของศลปนและการรับรูของผูชมผานสื่อตางๆ ทั้ง
ิ
ทางกายภาพและการคำนวนผานโปรแกรมคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีดิจิทัลในรูปแบบตางๆ
การรับรูของมนุษยที่สามารถเขาไปอยูในกิจกรรมหรือพิธีกรรมนั้นๆ หากมองยอนกลับไปใน
ี
ยุคโบราณภาพจิตรกรรมในผนังถ้ำที่มขนาดใหญกวาสัดสวนของมนุษยโดยทั่วไป ยอมสามารถให
ื
ความรูสึกเหมอนกับมนุษยเขาไปอยูในบรรยากาศนั้นๆ ไมวาจะเปนงานจิตรกรรมบนผนังถ้ำ งาน
ศิลปะในศาสนสถานอยาง จิตรกรรมกระจกสีและรูปปนในโบสถคริสต จิตรกรรมฝาผนังและ