Page 49 -
P. 49
ิ
ิ
ุ
ื
ิ
ิ
ั
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
23
1993 ทีสะทอนการรับรูของผูชมไปสูอคติทางการเมองของชาวเยอรมันและประชาคมโลกที่มีตอผูนำ
่
ื
ชาวเยอมัน และความเปนเยอรมัน ซึ่งเปนผลงานของฮาน เฮคเคอ (Hans Haacke) ศลปนชาวเยอรมน
ั
ิ
ในผลงานที่ชื่อวา Germania เปนการผลิตซ้ำที่มคำวา Germania ทีอยูดานหนา ที่บงบอกถึงความเปน
่
ี
ิ
เจาของพาวิลเลียนนี้ โดยเฮคเคอติดตั้งภาพของอดอลฟ ฮตเลอร (Adolf Hitler) ผูนำของเยอรมันใน
อดีตขณะเยือนพาวิลเลียนนี้ในป ค.ศ. 1934 แตขณะเดียวกันศิลปนกไดทุบพื้นหินออนใหแตกออกเปน
็
แผนๆ รวมถึงเขียนคำวา Germania ในพื้นทพาวิลเลียนอกที ซึ่งหากยอนกลับไปประวัติศาสตรของ
ี่
ี
พาวิลเลียนนี้ ในยุคสมัยที่เรืองอำนาจของฮตเลอร ไดกลับมาซอมแซมเพอเปดพื้นทของการสราง
ิ
ี่
ื่
ภาพลักษณใหกับอาณาจักรไรซที่ 3 และนำเสนอภาพอดมคติของนาซีผานผลงานและนิทรรศการ
ุ
ศลปะ
ิ
ภาพที่ 1.17 และ 1.18 Germania โดย Hans Haacke
หมายเหตุ. จาก www.frieze.com/article/gregor-muir-hans-haackes-germania-
pavilion-45th-venice-biennale
เฮคเคอใชผลงานศิลปะเปนพนที่การแสดงออกทางการเมือง จากบาดแผลของสงครามโลก
ื้
ื
ึ้
ครั้งที่ 2 ในชวงที่ฮิตเลอรขนมาเปนผูนำทางการเมองกบนโยบายตางๆ ที่สงผลตอการตั้งคำถามกับ
ั
ประวัติศาสตร ชนชาติ และความเปนเยอรมัน ศิลปนใชการมีอยูของพื้นที่ของพาวิลเลียนเดิมกับความ
ทรงจำที่ผานกาลเวลา และการปลดปลอยการใหความหมายในปจจุบันดำเนินไปพรอมๆ กับการทำ
ั
ความเขาใจตัวเองผานความทรงจำในอดีต ทั้งโลกในอุดมคติและคุณคาของอตลักษณความเปน
เยอรมันที่เปลี่ยนไปของผูคนในสังคม ทั้งทางพื้นที่และการรับรูประวัติศาสตรของตัวเอง ซึ่งหาก
พิจารณาถึงการติดตั้งศิลปะการจัดวาง นอกเหนือจากการเปนพื้นที่สำหรับการติดตั้ง การแสดง และ
ุ
เอกสารตางๆ ยิ่งไปกวานั้นนิทรรศการยังจัดแสดง 'วัตถ' ในความหมายที่กวางออกไป (รวมถึง
ี่
ภาพยนตร และงานวิดีโอ) พื้นทของงานยังเปนศูนยกลางในเครือขายขอมูล ซึ่งในความสัมพันธทาง