Page 48 -
P. 48

์
                                   ิ
                                                              ิ
                                ื
                                                                                       ุ
                                                   ิ
                                                                               ั
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                            ิ
               22


               ปารีส  เพื่อปฏิเสธถึงสภาวะที่เปนอยูและการมีอิสรภาพในการรับรู  รวมถึงแรงจูงใจในเรื่องการแสดง
               ทางศิลปะที่ไมเพียงอยูในรูปแบบของหอศิลปและพพิธภัณฑเทานั้น   ประเด็นไมไดอยูที่ตัวผลงาน
                                                                                     
                                                         ิ
               จิตรกรรม  แตเปนความคาดหวังที่เกิดจากบริบทของศิลปะ  โดยบูเรนกลับคาความสัมพันธปกติของ
                                                                                  ี่
               พื้นที่จัดแสดงและงานศิลปะ   ซึ่งโดยทั่วไปแกลลอรี่มักจะคงเดิม   ในขณะทงานศลปะที่จัดแสดง
                                                                                      ิ
                     ่
               จะเปลียนไป (Wood, 2002, p. 57)























                                      ภาพที่ 1.16 Sheets of Paper โดย Daniel Buren
                            หมายเหตุ. จาก https://blogs.uoregon.edu/danielburen/2015/02/16/24/

                                                            ี
                       บูเรนตองการแสดงใหเห็นวา  เมืองไมควรมขอจำกัดในการแสดงนิทรรศการ  ศิลปะควร
               แสดงออกไดอยางอิสระและเปนที่ยอมรับในทุกๆ  พื้นท  ในการที่ศิลปนนำผลงานศิลปะมาติดตั้งนอก
                                                             ี่
                    ี่
               พื้นทอยางหอศิลปหรือหองนิทรรศการศิลปะ  ถือเปนการขยายขอบเขตของนิยามเรื่องพื้นที่ทางศิลปะ
               โดยใชการติดตั้งผลงานเปนการขยายขอบเขตของการแสดงออก  ที่ซึ่งสงผลตอพื้นที่การรับรูงานศิลปะ

               ของผูชมโดยตรง อกทั้งเงื่อนไขที่สำคัญของการจัดวาง (intsllation) ตองแสดงถึงความปรารถนาของ
                               ี
               ศิลปนที่จะขยายพื้นที่ของงานออกจากสตูดิโอไปสูพื้นที่ทางสาธารณะดวย  โดยการอางสิทธิ์ในดินแดน
                                                                                    
               เหนือพื้นที่สวนตัว   ศิลปนจะมองเห็นการขยายอำนาจในการควบคมของตัวเองที่มีตอการนำเสนอ
                                                                         ุ
               ผลงาน (Nicolas, Nicola & Michael, 2004 (a), p. 7)
                       ศิลปะการจัดวาง (Installation art) แบงเปน 2 แบบกวางๆ คือ การจัดวางแบบเติมพื้นท  ี่

               (Filled  –  Space Installation)  ที่ศิลปนติดตั้งและจัดวางผลงานในพื้นที่อยางหองนิทรรศการหรือ

                                                    ี่
               หอศิลป  สวนอีกแบบคอการจัดวางแบบพื้นทเฉพาะ  (Site  –  Specific Installation)  ที่ศิลปนเลือก
                                  ื
               พื้นที่สำหรับการติดตั้งทมีความหมายกับแนวคิด  หรือการสรางพื้นที่ขึ้นมาใหมเพอการติดตั้งเฉพาะ
                                                                                    ื่
                                   ี่
               ผลงาน ศิลปะการจัดวางที่นอกจากจะสงผลตอพื้นที่ทางกายภาพแลว พื้นที่ทางความคิดกับการขยาย
               ขอบเขตกับเรื่องมายาคติและขอจำกัดมาตรฐานทางสังคมในเรื่องตางๆ โดยเฉพาะเรื่องการเมือง อยาง

                                                                                       ี่
               ผลงานศิลปะการจัดวางในงานเทศกาลศิลปะเวนิส เบียนเนเล (Venice Biennale) ครั้งท 45 ในป ค.ศ.
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53