Page 52 -
P. 52
ู
้
คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์
ิ
ู
ุ
ิ
2. การดำเนินการ (วิธีการ/รูปแบบ/จุดเด่นของผลงาน)
ด้วยความซับซ้อนของปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งนิสิต อาจารย์ และบุคลากร ไม่ว่าจะเป็นความ
ซับซ้อนของขั้นตอน ความผิดพลาดในการจัดทำเอกสาร การสูญหายของเอกสาร ปัญหาการติดตามสถานะ
ปัญหาการวิเคราะห์ข้อมูลที่ยากลำบาก งานกิจกรรมนิสิตจึงออกแบบระบบ SAKU ร่วมกับกลุ่มกิจกรรม KU
Tech โดยมีวิธีการและรูปแบบ ดังนี้
วิธีการและรูปแบบ
1. เข้าสู่ระบบด้วย Google @ku.th ด้วยบัญชีที่ลงทะเบียนกับ งานกิจกรรมนิสิต กองพัฒนานิสิต
2. องค์กรกิจกรรมนิสิต “สร้างโครงการ” โดยกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ในระบบแล้วกด “สร้าง
โครงการ” หรือกด “บันทึกร่าง” เพื่อตรวจสอบความถูกต้องก่อนส่ง
3. เมื่อสร้างโครงการแล้ว ระบบจะนำข้อความที่กรอกไปจัดหน้ากระดาษใน template โดยอัตโนมัติ
(Auto-Fill)
4. องค์การบริหาร องค์การนิสิต และสภาผู้แทนนิสิต พิจารณาโครงการและจัดสรรงบประมาณใน
ระบบ SAKU ทำให้นิสิตทราบผลในทันที
5. โครงการจะถูกเสนอตามระบบไปจนถึงขั้น “อนุมัติโครงการและงบประมาณ” ซึ่งทุกขั้นตอน
ลงนามด้วย ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (E-Signature) (1. ประธานโครงการ 2. ประธานชมรม 3. อาจารย์
ที่ปรึกษา 4. องค์การนิสิต 5. งานกิจกรรมนิสิต 6. หน่วยการเงิน 7. งานบริหารและธุรการ (เสนออนุมัติ))
6. Real-Time Tracking นิสิตสามารถติดตามสถานะโครงการได้ทุกที่ทุกเวลา
7. ระบบนี้รองรับ “การรายงานผลโครงการและค่าใช้จ่าย” เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ โดยใช้หลักการ
เดียวกับการเสนอโครงการ
รูปแบบเอกสาร (ดั้งเดิม) ระบบ SAKU (ใหม)
่
การเขียนโครงการ: การเขียนโครงการ:
นิสิตเขียนโครงการด้วยมือหรือพิมพ์ในเอกสาร Word นิสิตกรอกข้อมูลโครงการในระบบ ระบบ
พร้อมจัดหน้ากระดาษตามแบบฟอร์ม Auto-Fill ลง template อัตโนมัติ และสร้าง QR
code โครงการอัตโนมัติ
การส่งโครงการ: การส่งโครงการ:
พมพ์เอกสาร เดินทางส่งเอกสารถึงผู้เกี่ยวข้องทีละคน ระบบส่งโครงการให้ผู้เกี่ยวข้องโดยอัตโนมัติ
ิ
ั
และนำส่งด้วยตนเองที่กองพฒนานิสิต ตามลำดับ (ตลอด 24 ชม.)
(ในเวลาราชการ หรือ ตามนัดหมาย)
การพิจารณา: การพิจารณา:
นำเอกสารส่งต่อผู้เกี่ยวข้องตามลำดับทีละคน (ใช้ พิจารณาอนุมัติด้วย E-Signature หรือไม่
เวลานานในการส่งต่อและรอการพิจารณา ประมาณคน อนุมัติและให้ความเห็น (ตลอด 24 ชม.)
ละ 1 วัน - 1 สัปดาห์)
46