Page 29 -
P. 29
ิ
ื
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
13
การวิเคราะหความเสี่ยง (risk analysis) - การวิเคราะหภัย
- การวิเคราะหความลอแหลม
- การวิเคราะหความเปราะบาง
- การวิเคราะหศักยภาพ
ั
การประเมินความเสี่ยง การจดระดับความสำคัญความเสี่ยง การ
กำหนดเกณฑระดับความเสี่ยง
(risk evaluation)
การจัดการความเสี่ยง - มาตรการในการลดความเสี่ยง
(risk management) - มาตรการระยะสั้น ระยะยาว
- ฯลฯ
ภาพที่ 1.3 ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงภัยพิบัต ิ
ที่มา (Smith, 2013: 87, สรวิศ วิฑูรทัศน และคณะ, 2559: 21)
ิ
ิ
ั
ในการอธบายการประเมินความเสี่ยงภยพบตโดยทั่วๆไปสามารถใชองคประกอบพนฐาน
ื้
ั
ิ
ทั้ง 4 ในการอธิบายความเสี่ยงดังแสดงความสัมพันธไดโดยสมการตอไปนี้
ความเสี่ยง (R) = ภัย (H) x ความลอแหลม (E) x ความเปราะบาง (V)
ศักยภาพ (C)
จากสมการ ความเสี่ยง (R) หรือ risk คือ โอกาสในการที่จะเกิดสิ่งที่ไมด นากลัว เชน
ี
โอกาสในการที่น้ำจะทวมในหมูบานทำใหเกิดการสูญเสีย เปนตน
ั
ภย (hazard) คือ สิ่งที่เปนอนตรายหรือสิ่งที่นากลัว ที่มีความเปนไปไดในการเกิดความ
ั
ี
รุนแรงจากภยธรรมชาตหรือภยจากมนุษย อาจกอใหเกิดความสูญเสียตอชวตและทรัพยสินของ
ั
ิ
ิ
ั
ราษฎรตลอดจนสงผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ตัวอยางภัยธรรมชาติ เชน อทกภย ภัยแลง ภย
ั
ุ
ั
ั
ั
ั
ั
จากแผนดนไหว วาตภย เปนตน และตวอยางภยจากการกระทำของมนุษย เชน อคคีภย ภยจากการ
ิ
ั
ั
จลาจล เปนตน โดยการประเมินความเสี่ยงตองมีการประเมินภยดงกลาวกอน ซึ่งจะชวยในการ
ั
ั
ั
ื้
ประเมินภยที่อาจจะเกิดขึ้นในบริเวณพนที่ที่เราตองการศึกษา ผลของการประเมินอาจแสดงใน
ั
ุ
รูปแบบของแผนที่ (hazard map) มีการระบขอบเขต การกระจายตว แหลงกำเนิด ลักษณะของภย
ั
ื้
ั
ิ
ื้
ความรุนแรง เชน การประมาณขอบเขตของพนที่ดนถลม การประมาณขอบเขตพนที่เกิดภยแลง
ั
เปนตน ซึ่งสามารถนำไปใชจัดการความนาจะเปนในการเกิดภย การจัดลำดบความสำคัญของภย
ั
ั
บริเวณไหนที่ควรไดรับการจัดการอยางเรงดวนที่สุด หรือบริเวณไหนที่ปลอดภัยที่สุด