Page 28 -
P. 28
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
ิ
ิ
์
12
1. การจัดการกอนเกิดภัยพิบัติ
จากภาวะอุทกภัยและภาวะภยแลงของประเทศไทยที่เกิดขึ้นซ้ำซากบอยครั้ง สงผลกระทบให
ั
ั
ั
ุ
ี
ี้
ั
เกิดการสูญเสียมากขึ้น และมีแนวโนมรุนแรงมากกวาในอดต เหตดงกลาวเปนตวชวดวาการจัดการ
ั
ี
ี
ิ
ิ
ภยพบตในประเทศนั้นๆ มีปญหาไมมีประสิทธภาพ ซึ่งการรอรับมือภยพบตเพยงอยางเดยวแบบใน
ั
ิ
ิ
ั
ิ
ั
ิ
ั
ั
อดตนั้นไมเพยงพอ ดงนั้นจำเปนตองนำหลักการจัดการภยพบตมาประยุกตใชในการจัดการภาวะ
ี
ิ
ั
ี
ั
ุ
อทกภยและภาวะภยแลงซึ่งจะทำใหมีประสิทธภาพและเปนสากล โดยจะตองมีการดำเนินการ “เชง
ิ
ั
ิ
ิ
ิ
รุก” กอน ซึ่งเปนการจัดการกอนเกิดภยพบต โดยเปนลักษณะของการประเมินภยพบตที่คาดวาจะ
ั
ิ
ั
ั
ิ
ั
เกิดขึ้น ซึ่งแนวทางนี้ประกอบไปดวย การประเมินความเสี่ยง การปองกันและลดผลกระทบ และการ
ั
ี
เตรียมความพรอม โดยมีรายละเอยดดงตอไปนี้
1.1 การประเมินความเสี่ยง (risk assessment)
ิ
ิ
ั
เปนขั้นตอนการประเมินระดบความเสี่ยงของการเกิดภยพบัตในพนที่ใดพื้นที่หนึ่งที่จะตอง
ั
ื้
ั
ิ
ิ
เผชญ โดยใชขอมูลของปจจัยที่เกี่ยวกับความเสี่ยงมาวเคราะห ไดแก ภย ความลอแหลม ความ
เปราะบาง และศักยภาพ และประเมินผลกระทบความเสียหายที่คาดวาจะเกิดขึ้น ซึ่งผลที่ไดจะ
นำไปใชในการวางแผนในการจัดการภยพบตไมวาจะเปน การจัดการกอนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิด
ิ
ิ
ั
ั
ิ
ั
ั
็
ั
ภยพบต ไดอยางเหมาะสมมีระบบและตรงประเดน ซึ่งแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภย
ิ
ั
ิ
แหงชาติ พ.ศ. 2558 ของประเทศไทย ไดวางยุทธศาสตรสำคัญเรื่องการจัดการความเสี่ยงจากภยพบต ิ
ั
ั
ิ
ิ
ี
โดยกำหนดใหมีการประเมินความเสี่ยงจากภยพบตทุกๆดาน ซึ่งสอดคลองกับแนวทางวธการประเมิน
ั
ิ
ความเสี่ยงดานภยพบตตามแนวทางสากลซึ่งเปนที่ยอมรับกันทั่วโลก (คณะกรรมการปองกันและ
ิ
ั
ั
ิ
ิ
บรรเทาสาธารณภัยแหงชาต, 2558: 14)
ิ
ขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงภยพบตซึ่งเปนยอมรับกันทั่วๆไป จะตองประกอบไป
ั
ิ
ั
ิ
ดวย 3 กระบวนการหลัก ไดแก การวเคราะหความเสี่ยง (risk analysis) การประเมินความเสี่ยง (risk
evaluation) และสุดทายจะไดเปนการจัดการความเสี่ยง (risk management) (Smith, 2013: 87,
ั
ิ
ิ
สรวศ วฑูรทัศน และคณะ, 2559: 21) ดงแสดงในภาพที่ 1.3 ซึ่งกอนที่จะทราบไดวาจะสามารถ
จัดการกับความเสี่ยงอยางไรใหเหมาะสม ขั้นตอนแรกจะตองเริ่มจากการวเคราะหความเสี่ยง โดย
ิ
ิ
ั
หลักการนั้นเปนกระบวนการวเคราะหความเปนไปไดที่จะเกิดภยในบริเวณนั้นๆ และผลกระทบที่จะ
ิ
ั
ิ
ิ
ั
เกิดขึ้นจากปจจัยที่จะทำใหเกิดภย คือ การวเคราะหภย การวเคราะหความลอแหลม การวเคราะห
ั
ิ
ิ
ิ
ความเปราะบาง และการวเคราะหศักยภาพ นี้คือองคประกอบหรือปจจัยของความเสี่ยงภยพบตใน
ั
ื้
พนที่ศึกษาที่จะตองนำมาวเคราะหความเสี่ยงกอน ตอจากนั้นนำผลของการวเคราะหทั้งหมดมา
ิ
ิ
ิ
ั
ิ
ั
ื่
ประมวลรวมกันเพอใหทราบวาภยพบตที่สามารถเกิดขึ้นมีความรุนแรงขนาดใด สามารถประมาณ
ิ
ระดบความเสียหาย หรือผลกระทบจากภยพบตได กระบวนการนี้คือการประเมินความเสี่ยง ซึ่งการ
ั
ั
ิ
ั
ประเมินนี้มีความสำคัญมาก เพราะเปนขอมูลสำหรับการตดสินใจในการจัดการความเสี่ยงตอไป
ั
เหลานี้คือภาพรวมของกระบวนการจัดการความเสี่ยงทั้งหมด บางตำราหรือแหลงขอมูลอนอาจจะมี
ื่
ขั้นตอนมากกวา แตโดยตามมาตรฐานสากลสวนใหญหลักการของกรอบการดำเนินงานจะตองมี 3
กระบวนการนี้ จึงจะทำใหสามารถนำองคความรูนี้ไปประยุกตใชในการจัดการความเสี่ยงภาวะ
อุทกภัยและภาวะภัยแลงไดอยางมีประสิทธิภาพ