Page 26 -
P. 26
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
์
ิ
10
จากความหมายของภัยแลงพอจะสรุปใหเห็นอยางเดนชัดวา ภัยแลงคือ สภาวะการขาดแคลน
ี
ู
น้ำที่ตอเนื่องทำใหไมมีน้ำเพยงพอตอความตองการ อาจเกิดจากการผันแปรของสภาพภมิอากาศ
ู
ุ
โดยเฉพาะปริมาณฝนตกนอยกวาปกต หรือไมตกตองตามฤดกาล ประกอบกับอณหภมิสูงขึ้น
ิ
ู
ื้
่
ความชนตำ ลมพดแรง แหลงเก็บกักน้ำลดลงมีน้ำไมเพยงพอ ประกอบกับความสามารถในการอมน้ำ
ั
ี
ุ
ของดนตำ ทําใหสงผลกระตอสิ่งตางๆ ทั้ง ธรรมชาตและมนุษยไมมากก็นอยเสมอ อยางไรก็ตามการ
ิ
่
ิ
กำหนดความหมายของภยแลงขึ้นอยูกับประเดนปญหา มุมมองของดานที่จะศึกษา ตลอดจนการ
ั
็
นำไปใชประโยชนดวย นอกจากนั้นความหมายของภยแลงสามารถพจารณาชวงเวลาที่ฝนตกหรือฝน
ั
ิ
ั
ไมตก เชน สภาวะภยแลงอยางเบา เรียกวาชวงฝนแลง (dry spell) เปนชวงเวลาฝนตกเฉลี่ยไมถึงวน
ั
ู
ละ 1 มิลลิเมตร (0.04 นิ้ว) เปนระยะเวลาตอเนื่องกันถึง 15 วนในฤดฝน เปนภยแลงที่เกิดขึ้นในภาค
ั
ั
ตางๆ ของประเทศไทยในชวงตอนตนฤดฝน ระหวางเดอนมิถุนายนและกรกฎาคม (Mcbride et al.,
ู
ื
2015: 126, เกษม จันทรแกว, 2551: 265, กรมทรัพยากรน้ำ, 2559: 6) สวนคำวาความแหงแลง
ิ
(aridity) จะมีความหมายแตกตางกับคำวา ชวงฝนแลง โดยความแหงแลงจะพจารณาจากปริมาณ
น้ำฝนที่ตกนอยกวาคาเฉลี่ยตลอดทั้งปและเปนภาวะที่แลงอยางถาวรเปนประจำ (permanent
feature) สภาวะแหงแลงเชนนี้ ยังไมเคยปรากฏใน ประเทศไทย เชน บริเวณเขตทะเลทรายซาฮารา
ไดรับฝนนอยกวา 100 มิลลิเมตรตอป (Sen et al., 2017: 1) เปนตน
หลักการจัดการภาวะอุทกภัยและภาวะภัยแลง
จากสถานการณอทกภยและภยแลงที่ไดกลาวในขางตนจะเห็นไดวาสถานการณทั้งของโลก
ั
ุ
ั
ั
ั
ุ
และของประเทศไทยไดรับผลกระทบจากอทกภยและภยแลงเปนประจำ และสรางความสูญเสียและ
ี
ิ
เสียหายตอชวต ทรัพยสิน และเศรษฐกิจของประเทศเปนจำนวนมาก อีกทั้งยังมีแนวโนมที่จะทวความ
ี
รุนแรงมากขึ้นในแตละป เพราะฉะนั้นประชาชนและหนวยงานตางๆ ในประเทศจึงควรมีความเขาใจ
ั
ั
ื่
ในหลักการเกี่ยวกับการจัดการภาวะอทกภยและภาวะภยแลงใหมากยิ่งขึ้น เพอเปนการเตรียมความ
ุ
ิ
ั
ื่
ั
ื้
พรอมรับมือกับภยพบตนี้ที่อาจเกิดขึ้นในพนที่ของตนเอง เพอเปนการปองกันและลดความเสียหาย
ิ
ิ
ั
ใดๆ ใหลดลงเมื่อเกิดภัยพิบต หรือลดปจจัยที่ทำใหเกิดความเสี่ยงหากเกิดภยพบตเหลานี้ขึ้นในอนาคต
ั
ิ
ั
ิ
โดยในเอกสารคำสอนเลมนี้ไดนำหลักการจัดการภยพบตมาประยุกตใชในการจัดการภาวะอทกภย
ิ
ั
ิ
ุ
ั
ั
ิ
และภาวะภัยแลง ซึ่งการจัดการภัยพิบัตในอดีตเกือบทุกคนเขาใจวาการดำเนินการจัดการภัยพิบติเปน
ั
ั
ิ
ิ
ิ
เรื่องที่ตองรอใหภยพบตเกิดขึ้นกอนถึงจะเริ่มดำเนินการ อาทิ การกูภยหรือเรียกวาการเผชญเหต ุ
ั
ั
ั
ุ
ื่
ั
ั
ุ
ฉุกเฉินและการบรรเทาทุกขผูประสบภย เชน เมื่อเกิดอทกภยและภยแลง จะมีการนำอปกรณเพอการ
ื่
ั
ิ
กูภย และแจกสิ่งของที่จำเปนสำหรับการดำรงชวตในประจำวนเพอบรรเทาทุกขแกผูประสบภยตาม
ั
ั
ี
ประเภท สถานการณที่เกิดขึ้น และความรุนแรงของภยพบตนั้นๆ ถือวาเปนการเสร็จสิ้นภาระกิจการ
ิ
ั
ั
ิ
จัดการภยพบต หรือกลาวไดวาเปนการจัดการ “เชงรับ” เทานั้น ตอมาจึงเริ่มเห็นวาการจัดการ
ิ
ิ
ั
ิ
ั
ภยพบตขณะเกิดเหตที่ไมไดมีการเตรียมความพรอมไวลวงหนาทำใหการจัดการไมมีประสิทธภาพไม
ิ
ั
ิ
ั
ิ
ุ
ั
ิ
ั
ิ
เหมาะสมและไมครบวงจร ดงนั้นกอนเกิดภยพบตภยแลงควรมีการประเมินความเสี่ยง การปองกัน
ั
ั
การเตรียมพรอมที่ด อาทิ เตรียมระบบการเผชญเหตฉุกเฉิน เตรียมอปกรณ มีการฝกซอมเตรียมรับ
ุ
ี
ิ
ุ
ั
ภยเหลานี้ทำใหการดำเนินการเมื่อขณะเกิดภยราบรื่นขึ้นผูประสบภยไดรับความชวยเหลืออยาง
ั
ั
ั
ิ
ิ
ิ
รวดเร็ว แตอยางไรก็ตามผลที่เกิดขึ้นจากภยพบตมิไดจบลงเมื่อภยพบตสงบ แตประชาชนยังไดรับ
ั
ั
ั
ิ