Page 34 -
P. 34
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
18
ผลกระทบไดจริง โดยสามารถสรุปภาพรวมของกิจกรรมหลักขการปองกันและลดผลกระทบกอนเกิด
ิ
ภัยพิบัตได ดังแสดงในภาพที่ 1.6
ภาพที่ 1.6 แสดงตัวอยางกิจกรรมหลักดานการปองกันและลดผลกระทบกอนเกิดภัยพิบัต ิ
ที่มา (ผูเขียน)
1.3 การเตรียมความพรอม (preparedness)
เปนขั้นตอนที่ทำใหทุกภาคสวนมีมาตรการการเตรียมความพรอมไดอยางมีประสิทธภาพ
ิ
ิ
รวดเร็วและทันเวลากอนที่จะเผชญกับเหตการณภยพบต โดยหลักๆ จะมุงเนนการเตรียมความพรอม
ุ
ิ
ั
ั
ิ
ื
5 ดาน ไดแก ดานการวางแผนเตรียมรับมือเวลาเผชิญเหตุการณฉุกเฉิน ดานการแจงเตอนภัยและการ
กระจายขาวสาร ดานการฝกซอมฝกอบรมและใหความรูการเตรียมพรอมแกบคคลากร ประชาชน
ุ
ิ
เชน แผนการอพยพ จัดหาที่พกพงฉุกเฉิน และฝกอบรมทักษะการกูชพกูภย เปนตน ดานจัดหา
ี
ั
ั
ั
แจกจายสิ่งของยังชพ และดานสนับสนุนเครื่องมือและเครื่องจักรกล ดงแสดงในภาพที่ 1.7 ซึ่ง
ี
ั
ั
ิ
ิ
ั
ั
มาตรการการเตรียมความพรอมมีผลกับการจัดการขณะเกิดภยพบต และการจัดการหลังเกิดภยพบต ิ
ิ
โดยเฉพาะอยางยิ่งการการเผชิญเหตุการณฉุกเฉินและการฟนฟูบูรณะ หากมีการเตรียมความพรอมรับ
ิ
ิ
ี
ิ
ั
ภยพบตดการเผชญเหตการณฉุกเฉินและการฟนฟบรณะก็จะเกิดขึ้นอยางมีประสิทธภาพตามไปดวย
ั
ิ
ุ
ู
ู
ุ
ดังนั้นแผนการเตรียมความพรอมจึงตองถูกตอง ทันสมัยและบคลากรทุกภาคสวนจำเปนตองตนตวอยู
ั
ื่
ิ
ี
ตลอดเวลา เพราะนี้คือสิ่งสำคัญของการเตรียมความพรอม จึงจะสามารถชวยลดความสูญเสียทั้งชวต
ั
และทรัพยสินเมื่อตองเผชิญกับเหตุการณภยพิบัต ิ