Page 37 -
P. 37
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
์
21
ั
ิ
ื่
ิ
ี
ิ
ั
เตรียมสิ่งของจำเปนในการดำรงชวตเพอรับมือภยพบต เปนตน การใหความรูเหลานี้นอกจากตนเอง
ั
ิ
ุ
จะไดประโยชนแลวยังเปนการสรางความเขมแข็งของชมชนในการเตรียมความพรอมรับมือภัยพบตอก
ี
ิ
ดวย นอกจากการฝกอบรมทักษะแกประชาชนแลว บคลากรของรัฐก็ตองมีการการเตรียมความพรอม
ุ
ื
ั
เชน การฝกซอมการแจงเตอนภยใหแกประชาชนใหมีการกระจายขาวสารขอมูลอยางทั่วถึงและ
ั
ิ
ทันทวงทีเมื่อเกิดภย มีการซอมปฏบติ ไดแก ซอมแผนสมมุติเหตุการณจริง ซอมการอพยพภย เปนตน
ั
ั
ั
ื่
ิ
ิ
ั
ุ
ิ
นอกจากนั้นมีการการประชมเชงปฏบตการ (workshop) เพอใหระดบหัวหนาหนวยงาน ไดเขารวม
ิ
ั
และเกิดความเขาใจถึงแนวทางปฏบตตามแผนการเตรียมความพรอม กฎหมายที่เกี่ยวของ เพอ
ื่
ิ
ิ
สามารถใชเปนแนวทางในการบรณาการทำงานไดอยางมีประสิทธภาพ โดยสามารถรวบยอดทั้ง 3
ู
ดานเพอมองใหเห็นภาพรวมของกิจกรรมการเตรียมความพรอมภยพบตดงตวอยางดานการเตอนภย
ั
ื
ิ
ั
ั
ั
ิ
ั
ื่
โดยแสดงในภาพที่ 1.8
ภาพที่ 1.8 แสดงตัวอยางภาพรวมการเตือนภัยของกิจกรรมดานการเตรียมความพรอม
ที่มา (ดัดแปลงจาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ, 2553: 25)
2. การจัดการขณะเกิดภัยพิบัติ
ิ
การเผชญเหตการณฉุกเฉิน (emergency response) เปนกระบวนการหลักของวงจรการ
ุ
ิ
ั
ื่
ิ
ั
ี
ั
ิ
จัดการขณะเกิดภยพบตซึ่งเปนขั้นตอนการจัดการใหเห็นผลทันทีขณะเกิดภย โดยเนนเพอรักษาชวต
ั
และทรัพยสินของผูประสบภยไมใหเกิดการสูญเสียขยายเปนวงกวาง เปนการชวยเหลือเบองตนหรือ
ื้
ี
ุ
ั
บรรเทาทุกขแกผูประสบภยขณะเกิดเหตใหสามารถดำรงชวตอยูไดอยางพอสมควรพอเหมาะกับเวลา
ิ
ทั้งนี้การเผชิญเหตุการณฉุกเฉินมีกิจกรรมหลักดงแสดงในภาพที่ 1.9 และมีรายละเอียดดังตอไปนี้
ั