Page 73 -
P. 73
ื
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
71
ภาพที่ 2-2 การใช้โปรไปโอเนท อะซิเตทและบิวทีเรทเป็นพลังงาน
ที่มา: บุญล้อม (2546)
ภาพที่ 2-3 วิถีไกลโคไลซีส
ที่มา: https://microbiologyinfo.com/glycolysis-10-steps-explained-steps-by-steps-with-
diagram/ 10 ธันวาคม 2560
การสังเคราะห์กลูโคสในร่างกาย
ส าหรับสัตว์เคี้ยวเอื้องที่อยู่ในระหว่างการให้นม การสังเคราะห์กลูโคสมีส่วนส าคัญอย่างยิ่ง
เนื่องจากต้องน ากลูโคสไปสร้างเป็นน้ าตาลในนม การสังเคราะห์กลูโคสในโคนมส่วนใหญ่จะเกิดที่เซล
ของตับและเซลที่บริเวณส่วนนอกของไต (Kidney cortex) โดยการควบคุมจากฮอร์โมนที่สร้างจากตับ
อ่อน เช่น อินซูลิน (Insulin) และกลูคากอน (Glucagon) และฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก คือ
กลูโคคอร์ติคอย (Glucocorticoid) เนื่องจากโคนมมีความต้องการใช้กลูโคสในขบวนการต่างๆ ของ
ร่างกายด้วย แต่การดูดซึมกลูโคสผ่านระบบทางเดินอาหารในสัตว์เคี้ยวเอื้องมีน้อยกว่าในสัตว์กระเพาะ
เดี่ยว เนื่องจากคาร์โบไฮเดรตที่ถูกย่อยในกระเพาะรูเมนโดยเอนไซม์ของจุลินทรีย์ จะถูกเปลี่ยนเป็นกรด
ไขมันที่ระเหยได้ง่ายแทน กรดโปรไปโอนิกเป็นกรดไขมันที่ระเหยได้ง่ายที่เป็นแหล่งวัตถุดิบส าคัญในการ
สังเคราะห์กลูโคส ประมาณว่า 1 โมเลกุลของกลูโคสถูกสังเคราะห์จากกรดโปรไปโอ
บทที่ 2 สารอาหารและเมตาบอลิซึมในร่างกายสัตว์