Page 77 -
P. 77

ิ
                                                ์
                                   ื
                                              ิ
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                           ิ
                                                                 ิ
                                                           75

                  ที่มา:  เทอดชัย (2543)


                  เมตาบอลิซึมของลิปิด (Metabolism of lipid)
                         ลิปิดเป็นสารอาหารที่ร่างกายเลือกเก็บสะสมไว้เป็นพลังงานส ารองในรูปของไตรกลีเชอไรด์

                  ทั้งนี้เพราะมีสมบัติไม่รวมกับน้ า ท าให้เก็บสะสมไว้ได้ไม่จ ากัดปริมาณและไม่เปลืองเนื้อที่เท่ากับ

                  คาร์โบไฮเดรตหรือโปรตีนซึ่งมีน้ าอยู่ด้วย นอกจากนี้ลิปิดยังเป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลและท า
                  หน้าที่เป็นฮอร์โมนรวมทั้งเป็นไวตามินที่สาคัญในร่างกาย อาหารลิปิดที่ไดจากสัตว์และพืชส่วนใหญ่อยู่ใน
                                                                              ้
                  รูปไตรกลีเชอไรด์มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่อยู่ในรูปฟอสโฟกลีเชอไรด์ สเตอรอลและไวตามิน

                  กระบวนการเมแทบอลิซึมของลิปิดออกเป็นแบ่ง 2 ขั้นตอน คือ กระบวนการย่อย การดูดซึมและการ
                  ขนส่งลิปิดไปสู่เชลกับกระบวนการเมแทบอลิซึมที่เกิดขึ้นในเซลเนื้อเยื่อต่างๆ



                  1. กระบวนการย่อย การดูดซึมและการขนส่ง
                         1.1 การย่อยลิปิดในทางเดินอาหาร

                         สารอาหารลิปิดส่วนใหญ่ ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมได้เกือบทั้งหมด มีเพียงประมาณร้อย
                  ละ 4 เท่านั้นที่สูญเสียทางอุจจาระ ยกเว้นในกรณีที่เกิดการบกพร่องจากการย่อยหรือการดูดซึมจึงจะมี

                  การสูญเสียลิปิดมากกว่าปกติและจะส่งผลให้ร่างกายขาดหรือบกพร่องในการดูดซึมไวตามินละลายใน
                  ไขมัน การย่อยลิปิดเกิดขึ้นน้อยมากในกระเพาะอาหารถึงแม้จะมีเอนไซม์ลิเปสอยู่ก็ตาม ที่ล าไส้เล็กส่วน

                  ดูโอดีนัมเป็นบริเวณที่มีการย่อยลิปิดที่แท้จริง เมื่อลิปิดผ่านเข้าสู่ล้าไส้เล็กส่วนดูโอดีนัมจะกระตุ้นให้มี

                  การหลั่งโฮโมนโคลีซิสโทนิน-แพนคลีโอไซนิน (Cholecystokinin-pancreozynin, CCKPZ) ซึ่งท า
                  หน้าที่ช่วยเร่งให้ถึงน้ าดีบีบตัวปล่อยน้ าดีออกมารวมทั้งเร่งตับอ่อนให้ปล่อยเอนไซม์ต่างๆ ออกมาด้วย

                  ประกอบกับการที่น้ าย่อยเหล่านี้ มีสารไบคาร์บอเนตอยู่ด้วย ท าให้ pH ภายในล าไส้มีสภาพค่อนข้างเป็น

                  ด่างเหมาะกับการท างานของเอนไซม์ เอนไซม์ที่ใช้ย่อยลิปิดที่ส าคัญ คือ แพนครีเอทิกลิเปส (Pancreatic
                  lipase) (ภาพที่ 2-5) เอสเทอเรส (Esterase) และฟอสโฟลิเปส A (Phospholipase A ) การย่อย

                  เริ่มต้น โดยน้ าดีประกอบด้วยกรดน้ าดี (Bile acids) และเกลือของกรดน้ าดี (Bile salts) ช่วยกระตุ้นให้

                  เกิดการกระจายตัวของลิปิดกลายเป็นอนุภาคเล็กๆ เป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวของลิปิดช่วยให้เกิดการย่อย
                  รวดเร็วขึ้น









                  ภาพที่ 2-5 การท างานของเอนไซม์แพนครีเอทิกลิเปส (Pancreatic lipase)



                   บทที่ 2   สารอาหารและเมตาบอลิซึมในร่างกายสัตว์
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82