Page 68 -
P. 68

ิ
                                     ิ
                                   ื
                                                                           ิ
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                ์
                                              ิ
                                                           66

                  อาหารที่ไม่สามารถย่อยสลายหรือดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้ จะถูกขับออกทางร่ายกายในรูปของมูล
                  ปัสสาวะ พลังงานความร้อนหรือแก๊สต่างๆ เป็นต้น


                         สาโรช และเยาวมาลย์ (2560) รายงานว่าสัตว์กินอาหารเพื่อให้ได้รับสารอาหารหรือโภชนะ

                  (Nutrients) ชนิดต่างๆ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการมีชีวิต การเจริญเติบโต ให้ผลผลิตและเพื่อการ

                  สืบพันธุ์แพร่ลูกหลานต่อไป โภชนะหลายชนิดมีบทบาทและหน้าที่หลายอย่างในร่างกาย ตัวอย่างเช่น
                  โปรตีน อาจท าหน้าที่ในการให้กรดอะมิโน เพื่อทดแทนหรือสังเคราะห์โปรตีนในร่างกายหรืออาจให้

                  พลังงานด้วยก็ได้
                         ดังนั้นในการผลิตสัตว์เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงนั้น จ าเป็นต้องเข้าใจถึงองค์ความรู้

                  ทางด้านชีวเคมีที่เกี่ยวข้อง โดยองค์ความรู้นี้จะสามารถน ามาอธิบายกลไกการเปลี่ยนแปลงหรือเมตาบอ

                  ลิซึมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตัวสัตว์ (Riis, 1983) เช่น เมื่อสัตว์ได้รับโภชนะที่แตกต่างกันหรืออยู่ใน
                  สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมือนกัน อาจส่งผลต่อปริมาณหรือคุณภาพการให้ผลผลิตสัตว์หรือในบางครั้งอาจ

                  ใช้ความรู้ทางด้านชีวเคมีไปใช้ในการท านายปริมาณและคุณภาพของผลผลิตเนื้อ น้ านมและไข่ได้ รวมทั้ง

                  อาจสามารถใช้ในการควบคุมปริมาณและองค์ประกอบทางโภชนะของผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ภายใต้ความ
                  ผันแปรของอาหารที่สัตว์ได้รับเข้าไปหรือการให้สัตว์ได้รับอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อต้องการทดสอบ

                  ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการที่ตัวสัตว์จะเปลี่ยนโภชนะหนึ่งๆ ไปเป็นผลผลิต
                  จะต้องมีกระบวนการต่างๆ ทางชวเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่หลายขั้นตอนและมีความจ าเป็นที่จะต้องศึกษา
                                             ี
                  ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพส าหรับการผลิตสัตว์

                  สมัยใหม่
                         กระบวนการใช้ประโยชน์ของโภชนะในสัตว์นั้น มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดกับกระบวนการ

                  ต่างๆ ทางชีวเคมี เช่น ในสัตว์ไม่เคี้ยวเอองมีกระบวนการทางชีวเคมีเกิดขึ้น ตั้งแต่การย่อยสลายอาหารที่
                                                  ื้
                  ปาก ผ่านเข้าสู่กระเพาะจริงแล้วเกิดการท างานโดยกลไกการหลั่งเอนไซม์ต่างๆ เพื่อมาย่อยอาหาร (Riis,

                  1983) จากนั้นเกิดกระบวนการดูดซึมและน าไปใช้ประโยชน์ ในขณะที่สัตว์เคี้ยวเอื้องจะมีกระบวนการ

                  ทางชีวเคมีเกิดขึ้นที่แตกต่างกับในสัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง โดยเฉพาะกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน ซึ่งถือ
                  เป็นกระบวนการทางชีวเคมีที่มีการด าเนินกิจกรรมหลักโดยจุลินทรีย์ (Microorganism) และจะมี

                  ผลผลิตสุดท้าย (End product) ได้แก่ กรดไขมันที่ระเหยได้ง่าย (Volatile fatty acid) แอมโมเนีย-

                  ไนโตรเจน (Ammonia-nitrogen) จุลินทรีย์โปรตีน (Microbial protein) และแก๊สต่างๆ ทั้งนี้ผลผลิต
                  สุดท้ายที่เกิดขึ้นจะถูกน าเข้าสู่กระบวนการทางชีวเคมีต่อไป เพื่อเปลี่ยนไปเป็นโภชนะที่เป็นประโยชน์ต่อ

                  ตัวสัตว์ เช่น กรดไขมันที่ระเหยได้ง่าย ชนิดกรดโพรพิโอนิก จะถูกส่งผ่านผนังกระเพาะรูเมนเข้าสู่กระแส

                  เลือด ส่งไปยังตับ เข้าสู่กระบวนการทางชีวเคมีที่เรียกว่า กลูโคนีโอเจเนสีส (Gluconeogenesis) และ





                   บทที่ 2   สารอาหารและเมตาบอลิซึมในร่างกายสัตว์
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73