Page 29 -
P. 29

ื
                                    ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                             ิ
                                                                   ิ
                                                ์
                                                                              ิ


           การใชหลังการเก็บเกี่ยว

                     สำหรับวิธีการนี้การใชจุลินทรียปฏิปกษอาจจะทำโดยการพนละออง (spray) และแชใน

           เซลแขวนลอย วิธีการประสบความสำเร็จในการควบคุมมากกวาการใชกอนการเก็บเกี่ยว มักทำให
      บทที่ 1   การเสียเนื่องจากราลดลงอยางมาก การศึกษาการใชหลังการเก็บเกี่ยวแสดงวาการใชจุลินทรีย


           ปฏิปกษภายนอกเปนแนวทางที่เหมาะสมและเชื่อถือไดสำหรับการจัดการโรคที่มีสาเหตุจากราในชวง

           หลังการเก็บเกี่ยว (Dukare et al. 2018)


           การปรับปรุงประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพของโรคหลังเก็บเกี่ยว


                     การใชจุลินทรียปฏิปกษเพื่อควบคุมโรคหลังเก็บเกี่ยวอยางเดียวมักไมเพียงพอที่จะทำให

           สามารถควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยวไดผลดี (ลดการเกิดโรคสูงกวา 95 เปอรเซ็นต) อยาง

           สม่ำเสมอ นอกจากนั้นการใชวิธีการทางกายภาพ เชน ใชรังสีอัลตราไวโอเลต การใชความรอน หรือ

           การใชวิธีทางเคมี อาจไมสามารถควบคุมไดโรคหลังการเก็บเกี่ยวไดเกือบ 100 เปอรเซ็นต (Dukare

           et al. 2018) เชนเดียวกันกับการใชยีสตปฏิปกษอยางเดียวเพื่อปองกันโรคพืชหลังเก็บเกี่ยวปกติจะ

           ดอยกวาการใชสารเคมีฆารา ดังนั้นในขณะที่วิจัยเพื่อหายีสตสายพันธุที่มีประสิทธิภาพสูงใหม ๆ

           นักวิจัยจึงยังคงคนหาวิธีที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพของยีสต

           ปฏิปกษที่มีอยูแลวตลอดเวลา การใชวิธีการควบคุมทางชีวภาพรวมกับวิธีทางกายภาพหรือ

           วิธีทางเคมีเปนวิธีการที่เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพ


           การใชยีสตมากกวาหนึ่งสายพันธุหรือการใชยีสตรวมกับจุลินทรียชนิดอื่น


                     การควบคุมโรคผลไมหลังเก็บเกี่ยวบางครั้งการใชยีสตเพียงอยางเดียวอาจไมเพียงพอ

           เนื่องจากยีสตมีกิจกรรมการควบคุมการเกิดโรคไดคอนขางแคบ และมีความจำเพาะตอชนิดของ

           เชื้อกอโรคในภาวะใดภาวะหนึ่งเทานั้น การเพิ่มความสามารถของยีสตจะทำใหการควบคุมโรคพืชได

           กวางขึ้นและทำงานในหลายภาวะ จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไดมากขึ้น (Liu et al.

           2011) อาศัยความสามารถของยีสตและจุลินทรียอื่นที่มีกลไกในการยับยั้งและควบคุมโรคพืชตางกัน

           ทำใหสามารถสงเสริมซึ่งกันและกันในการยับยั้งและควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อหลาย ๆ ชนิดโดยไม

           ตองอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม แตอยางไรก็ตามยีสตและจุลินทรียชนิดอื่น ๆ ที่นำมาใช        

           รวมกันตองสามารถอยูรวมกันไดโดยที่ไมเปนปฏิปกษตอกัน ตัวอยางเชน ยีสตปฏิปกษ Meyerozyma
           (Pichia) guilliermondii ซึ่งเปนยีสตสายพันธุที่มีการศึกษาวาสามารถควบคุมโรคราดำของสับปะรด


           ที่มีสาเหตุมาจากรา Ceratomyces paradoxa ได แตเมื่อใชรวมกับยีสตอื่นอีก 4 สปชีส คือ
           Rhodotorula aurantiaca, Rhodotorula glutinis, Cryptococcus sp. และ Candidus albidus พบวามี






     20  การใชยีสตสำหรับการควบคุมทางชีวภาพโรคพืชและโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยวที่เกิดจากรา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34