Page 30 -
P. 30

ิ
                                                ์
                                             ิ
                                                                              ิ
                                    ิ
                                 ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                ประสิทธิภาพในการควบคุมลดลงเหลือเพียงครึ่งเดียวเมื่อเทียบกับที่ใชสปชีสเดี่ยว ๆ (Reyes et al.
                2004) และการศึกษาของ Zhimo et al. (2020) พบวาการใชยีสต Meyerozyma sp. และ

                Saccharomyces sp. รวมแบคทีเรีย Bacillus sp. ซึ่งแยกจากนมหมักชนิดที่เรียกวา คีเฟอร (kefir)

                พบวามีประสิทธิภาพในควบคุมทางชีวภาพตอการเกิดโรคเนาในองุนและแอปเปลที่มีสาเหตุมาจาก                   บทที่ 1

                รา P. expansum ไดมากขึ้น


                การใชยีสตรวมกับวิธีการควบคุมโรคอื่น ๆ


                          วิธีอื่น ๆ ที่ใชในการควบคุมราโรคพืชหลังเก็บเกี่ยวและใหผลดีนั้นยังมีอีกหลากหลายวิธี

                เพื่อชวยเสริมความสามารถของยีสตในการควบคุมราโรคพืชหลังเก็บเกี่ยวเพื่อใหมีประสิทธิภาพดีขึ้น

                ไมวาจะเปนการใชวิธีทางกายภาพ เชน การใชความรอน อาจทำโดยแชผลไมในน้ำรอน 42 องศา

                เซลเซียส นาน 40 นาที ทำใหประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพของ Candida guilliermondii และ

                Pichia membranaefaciens เพิ่มขึ้นโดยไมมีผลตอการเจริญของยีสต (Zong et al. 2010) การควบคุม

                โรคโดยยีสตปฏิปกษ C. guilliermondii หรือ P. membranaefaciens รวมกับการแชผลโลควอต

                (loquat fruit) ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูง 38 องศาเซลเซียส พบวาสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุม

                การเจริญของ B. cinerea ที่เปนรากอโรคเนาไดดีเชนกัน (Liu et al.  2010) การใชยีสตปฏิปกษ

                Metschnikowia fructicola รวมกับการใชอุณหภูมิสูง 40 องศาเซลเซียส ทำใหการควบคุมการเกิด

                โรคบนผลแอปเปลที่มีสาเหตุจากรา P. expansum ดียิ่งขึ้น (Liu et al. 2011) และการฉายรังสี

                อัลตราไวโอเลตรวมกับยีสตปฏิปกษ เชน Papiliotrema laurentii (ชื่อเดิม Cryptococcus laurentii)

                สามารถควบคุมการเกิดโรคเนาในมะเขือเทศที่เกิดจากรา B. cinerea หรือ Alternaria alternata ได

                อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น (Zhang et al. 2013) กรดซาลิไซลิก (salicylic acid) เปนฮอรโมนพืชที่

                สำคัญซึ่งเกี่ยวของกับการชักนำใหพืชตอบสนองตอเชื้อกอโรค (Romanazzi et al. 2016) การใช           

                กรดซาลิไซลิกเพิ่มความเปนปฏิปกษของ R. glutinis ตอ P. expansum และ A. alternata ใน

                ผลเชอรรี (Qin et al. 2003) กรดซาลิไซลิกที่ความเขมขนต่ำเพิ่มกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการปองกัน

                แตมีผลเพียงเล็กนอยกับการเจริญของยีสตและรากอโรคทั้ง 2 ชนิด สิ่งนี้แสดงวาประสิทธิภาพการ

                ควบคุมที่เพิ่มขึ้นจากการใชกรดซาลิไซลิกรวมดวยอาจเกี่ยวกับการไปกระตุนความตานทานของพืช

                ความสามารถของกรดซาลิไซลิกที่เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมพบในยีสตหลายสปีชีส์ เช่น Candida

                membranifaciens, M.  pulcherrima และ Meyerozyma guilliermondii (Farahani and Etebarian

                2003; Shao et al. 2019; Xu et al. 2008) เมทิลจัสโมเนต (methyl jasmonate) เปนฮอรโมนพืชอีก

                ชนิดหนึ่งที่กระตุนความตานทานของพืช พบวาเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมของยีสตปฏิปกษ

                บางชนิด เชน P. laurentii (ชื่อเดิม Cry. laurentii) (Guo et al. 2014) สารสกัดจากพืชหลายชนิด





                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      21
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35