Page 28 -
P. 28

ิ
                                                ์
                                                                   ิ
                                             ิ
                                                                              ิ
                                 ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                การเปนปฏิปกษในการควบคุมทางชีวภาพของโรคหลังเก็บเกี่ยวที่ลึกซึ้งยังมีความจำเปน และ
                จำเปนตองทำใหประสิทธิภาพของยีสตปฏิปกษภายใตสภาพทางการคามีความสม่ำเสมอ

                นอกจากนั้นการนำผลิตภัณฑเขาสูตลาดที่ยังยากอยูนั้นจำเปนตองไดมีการแกไข (Dukare et al.

                                                                                                                         บทที่ 1
                2018; Freimoser et al. 2019; Zhang et al. 2020)

                วิธีการใชตัวควบคุมทางชีวภาพในการควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยว


                          หลังจากการระบุชนิดและคัดเลือกจุลินทรียปฏิปกษแลว มักตามดวยการเลือกเวลาที่

                เหมาะสมและวิธีการประยุกตใชในการควบคุมเชื้อกอโรคหลังการเก็บเกี่ยวอยางมีประสิทธิภาพ

                โดยทั่วไปมีทั้งวิธีการใชกอนการเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยว (Dukare et al. 2018)


                การใชกอนการเก็บเกี่ยว


                          การติดเชื้อแฝงซึ่งเกี่ยวของกับการระบาดของผลไมโดยเชื้อกอโรคมักจะกลายเปนปจจัย

                สำคัญที่ทำใหเกิดการเนาเสียในระหวางการขนสงและการเก็บรักษา ภายใตเงื่อนไขเหลานี้มักจะมี

                การใชจุลินทรียที่เปนปฏิปกษกอนการเก็บเกี่ยว การใชจุลินทรียปฏิปกษในแปลงเพาะปลูกสามารถ

                เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพได เนื่องจากจุลินทรียปฏิปกษมีเวลาปฏิสัมพันธกับ

                เชื้อกอโรคมากพอ รวมทั้งชวยใหจุลินทรียปฏิปกษเขาไปอยูที่ผิวดานนอกของผลไมหรือพืชผักกอน

                เชื้อกอโรคจะเขามา แมนวาวิธีการนี้อาจใชไมไดในการเพาะปลูกจริงเพราะจุลินทรียปฏิปกษอาจไม

                สามารถคงอยูในในสภาพที่เพาะปลูกจริงได แตมีรายงานถึงความสำเร็จในการศึกษาการควบคุม

                ทางชีวภาพที่จำเพาะบางอยาง (Dukare et al. 2018) เชน การศึกษาของ Teixidó et al. ใน ค.ศ.

                1999 ที่รายงานวาการเพาะยีสตปฏิปกษ C. sake CPA1 ลงในแปลง 48 ชั่วโมงกอน

                การเก็บเกี่ยว สามารถลดการเกิดโรคราสีน้ำเงินซึ่งมีสาเหตุจาก Penicillium expansum ได้ 50

                เปอรเซ็นต และการใช้ยีสตปฏิปกษ C. sake ร่วมกับแบคทีเรีย Pseudomon assyringae บนผล

                แอปเปลและแพรในระยะกอนการเก็บเกี่ยว เพิ่มกิจกรรมการควบคุมทางชีวภาพโดยรวมตอ P.

                expansum ระหว่างการเก็บ อยางไรก็ตามการที่จะไดรับผลการควบคุมทางชีวภาพที่ดีจุลินทรีย

                ปฏิปกษตองทนความเคนจากสิ่งแวดลอมในแปลงเพาะปลูก ทั้งสารอาหารที่จำกัด การไดรับแสง

                อัลตราไวโอเลตโดยตรง อุณหภูมิสูงมาก น้ำจำกัด และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอยางรวดเร็ว

                (Dukare et al. 2018)














                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      19
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33